You are viewing this post: ชัวร์ก่อนแชร์ : น้ำมันมะพร้าวรักษาโรคเริม จริงหรือ ? | เลิม
Table of Contents
ชัวร์ก่อนแชร์ : น้ำมันมะพร้าวรักษาโรคเริม จริงหรือ ?
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
บนสังคมออนไลน์แชร์สูตรรักษาโรคเริมหายด้วยการใช้น้ำมันมะพร้าว เรื่องนี้จริงหรือไม่? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
คลิกชม
►http://www.tnamcot.com/view/59b93c7ce3f8e41371e41130
✮สมัครรับข้อมูลฟรี! Subscribe ► https://www.youtube.com/tnamcot
✮ชมทุกตอน \”ชัวร์ก่อนแชร์\” ►https://goo.gl/zmgfeG
✮ข่าวดังข้ามเวลา ► https://goo.gl/rKcCQq
✮สกู๊ปพิเศษ ► https://goo.gl/Yw0ZIw
✮เห็นแล้วอึ้ง ► https://goo.gl/zFvXUA
✮เกษตรทำเงิน ► https://goo.gl/zF5aWu
✮เกษตรสร้างชาติ ► https://goo.gl/iSr814
✮ภาพมุมมองใหม่ | ท่องเที่ยววิถีไทยเก๋ไก๋สไตล์ลึกซึ้ง ► https://goo.gl/Z9DVHZ
คลิกชม
1.สารคดีเฉลิมพระเกียรติ ► https://goo.gl/IPLmNK
2.พระราชกรณียกิจพระมหากรุณาธิคุณ ► https://goo.gl/XH7ayo
3.คนไทยหัวใจ♥รักในหลวง ► https://goo.gl/CKPWpl
ติดตาม สำนักข่าวไทย อสมท (ช่อง 9MCOT HD หมายเลข 30 | Thai News Agency MCOT
► เว็บ http://www.tnamcot.com
► เฟซบุ๊ก https://www.facebook.com/tnamcot
► แอดไลน์ (LINE) @TNAMCOT หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40tnamcot
► ทวิตเตอร์ https://www.twitter.com/tnamcot
► อินสตาแกรม https://instagram.com/tnamcot
► ยูทูบ https://www.youtube.com/tnamcot
► ชมข่าวย้อนหลัง https://www.youtube.com/tnamcot ชัวร์ก่อนแชร์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ SureAndShare FactChecking
คนสู้โรค : เริมและงูสวัด (13 พ.ค. 59)
มารู้จักโรคเริมและงูสวัด กับ \”นพ.โกสินทร์ แจ่มเพ็ชรรัตน์\” แพทย์ผิวหนัง ต่อด้วยช่วง good look มาฝึกโยคะท่าภุชงคาสนะ หรือ ท่างู กับ \”ครูตูน ธิวาภรณ์ สังขะพงศ์\” ปิดท้ายด้วยช่วงรู้สู้โรค กับการดูแลผิวใสไร้สิวด้วยสมุนไพรไทย โดยคุณชินริณี วีระวุฒิวงศ์ แพทย์แผนไทย
ติดตามชมรายการคนสู้โรค วันจันทร์ ศุกร์ เวลา 07.00 – 07.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง http://www.thaipbs.or.th/live
ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : http://gplus.to/ThaiPBS
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS
รู้ได้อย่างไรว่าเป็นเริมหรือไม่ รักษาอย่างไร ? | เภสัชกรออนไลน์
โรคเริมเกิดจากเชื้อ herpes simplex virus/HSV นะคะ ซึ่งมีอยู่ 2 ชนิดค่ะ
1. HSV1 ก่อให้เกิดเริมตามผิวหนังทั่วไป และในช่องปากเป็นส่วนใหญ่ค่ะ
2. HSV2 ก่อให้เกิดเริมที่อวัยวะเพศเป็นส่วนใหญ่ สำหรับโรคเริมที่อวัยวะเพศ ถือเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง
โรคนี้จะติดต่อโดยการสัมผัสโดยตรง โดยเชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทางเนื้อเยื่ออ่อนหรือแผล แล้วกระจายตัวไปอาศัยอยู่ที่ปมประสาทอย่างสงบ
ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการกำเริบขึ้นได้ เมื่อร่างกายอ่อนแอ หรือเกิดความเครียดจากการบาดเจ็บ การได้รับแสง UV อุณหภูมิที่ร้นจัดหรือเย็นจัด ความเครียดทางจิตใจ การได้รับยากดภูมิคุ้มกัน หรือมีการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนในร่างกาย
เริมที่ริมฝีปาก
มักขึ้นที่บริเวณผิวหนังใกล้ๆ ริมฝีปาก โดยการติดเชื้อครั้งแรก ผู้ป่วยอาจจะมีอาการเป็นไข้ เจ็บปาก เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองโต และอาจมีอาการเหงือกอักเสบร่วมด้วย
เริมในช่องปาก มักพบในเด็กอายุ 15 ปี จะเริ่มจากการมีตุ่มน้ำที่ทำให้รู้สึกเจ็บปวด หลังจากนั้นตุ่มน้ำจะแตกเป็นแผลตื้น ๆ มีฝ้าขาวหรือเลือดแห้งกรัง บริเวณกระพุ้งแก้ม เหงือก เพดานปาก หรือลิ้น อาจรุนแรงจนกินอาหารไม่ได้ แผลเหล่านี้จะหายได้เองภายใน 23 สัปดาห์ แต่เชื้อที่ซ่อนตัวอย่างสงบที่ปมประสาทจะไม่ได้หายไป อาการของโรคเริมสามารถกลับมากำเริบได้อีกถ้าร่างกายอ่อนแอ
เริมที่อวัยวะเพศ
จะติดต่อโดยการร่วมเพศกับคนที่เป็นโรคนี้ หลังจากนั้น 47 วันจะมีอาการที่อวัยวะเพศ โดยตุ่มใสที่เกิดขึ้นจะแตกเป็นแผลเล็ก ๆ คล้ายแผลถลอกและมีอาการเจ็บ ถือเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของอาการเป็นแผลที่อวัยวะเพศ
มักเป็นบริเวณปลายอวัยวะเพศชาย และบางครั้งอาจเป็นที่ทวารหนักหรือบริเวณรอบ ๆ ปากทวารหนักได้ แผลที่เกิดขึ้นจะค่อยๆ หายไปได้เองภายใน 12 สัปดาห์ โดยไม่มีแผลเป็น
เมื่อเคยเป็นโรคนี้ครั้งหนึ่งแล้ว เชื้อก็จะหลบไปอยู่ที่ปมประสาทเหมือนกัน ถ้าร่างกายทรุดโทรม หรือมีการเสียดสี เช่น จากการร่วมเพศ เชื้อก็จะโผล่ขึ้นมาทำให้เกิดโรคได้อีก ซึ่งไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อครั้งใหม่ เมื่อร่างกายมีภูมิต้านทาน โรคนี้อาจจะหายขาดได้เอง
การรักษาโรคเริม
โรคเริมที่ริมฝีปาก จะใช้ยารักษาตามอาการ เช่น ครีมหรือขี้ผึ้งให้ความชุ่มชื้น และยาแก้ปวด
การใช้ยาครีม Acyclovir หรือครีมพญายอ จะช่วยให้แผลและอาการปวดแสบหายได้เร็วขึ้น
การรักษาเริมที่กลับมาเป็นซ้ำด้วยยาชนิดรับประทาน Acyclovir หรือ Valacyclovir ควรให้ภายใน 72 ชั่วโมง หลังเริ่มมีอาการ จะช่วยให้แผลหายได้เร็วขึ้น ลดระยะเวลาในการกำจัดเชื้อไวรัส และป้องกันการกลับซ้ำได้
สรุป
อาการของโรคเริม เริ่มแรกจะมีอาการแสบๆ เคืองๆ นำมาก่อนเล็กน้อย แล้วจะมีตุ่มน้ำใสขนาด 23 มิลลิเมตรขึ้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยรอบจะเป็นผื่นแดง ต่อมาตุ่มน้ำใสนี้จะเป็นสีเหลืองขุ่น แล้วแตกกลายเป็นสะเก็ด ซึ่งจะหายได้เองภายใน 12 สัปดาห์
ตำแหน่งที่พบบ่อย ได้แก่ ริมฝีปาก แก้ม จมูก หู ตา ก้น อวัยวะสืบพันธุ์ นอกจากนี้ต่อมน้ำเหลืองในบริเวณใกล้เคียงมักจะโตและเจ็บด้วย เมื่อหายแล้ว เชื้อจะหลบไปที่ปมประสาทแล้วอาจโผล่ขึ้นมาใหม่ ทำให้โรคกำเริบได้ ประมาณปีละ 14 ครั้ง ซึ่งมักเกิดหลังมีไข้ ถูกแสงแดดจัด อาหารไม่ย่อย ร่างกายอิดโรย ความเครียด ระหว่างมีประจำเดือน หรือตั้งครรภ์
กดติดตามจะได้ไม่พลาดคลิปใหม่ของเรา
https://qrgo.page.link/BpxTj
เป็นเพื่อนกันและติดตามข่าวสารช่องทางอื่นๆ
Facebook ► https://www.facebook.com/propharmacist.drugstore
IG ► https://www.instagram.com/propharmacist.online
TikTok ► https://www.tiktok.com/@propharmacist.online
Line ► https://lin.ee/iUlx1Vm
โรคผิวหนัง ป้องกันรักษาได้ ตอน โรคเริม | สารคดีสั้นให้ความรู้
เป็นโรคติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งของผิวหนังและเยื่อเมือกต่าง ๆ ทำให้มีลักษณะพุขึ้นเป็นตุ่มใสเล็ก ๆ แล้วแตกเป็นแผล ตกสะเก็ด ซึ่งหายได้เอง แต่มักกำเริบซ้ำและเป็น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำมักมีอาการกำเริบได้บ่อยและรุนแรงกว่าปกติ
\”เริมที่ริมฝีปาก เป็นแล้วกลับมาเป็นซ้ำอีก รักษาอย่างไร\” : หมอแนะ รายการคุยกับหมออัจจิมา
\”เริม\” ที่ริมฝีปาก หากใครเคยเป็น ก็คงจะทราบกันดี ว่าเป็นโรคที่ไม่หายขาด
พอเป็นแล้วก็มักจะเป็นซ้ำได้บ่อยๆ โดยโรคเริม เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ที่มีชื่อว่า \”Herpes Simplex Virus\” ซึ่งเชื้อเริมที่ริมฝีปากนั้น จะเป็นไวรัสคนละสายพันธุ์ กับเชื้อเริมที่อวัยวะเพศ การติดต่อของเชื้อเริม โดยส่วนใหญ่มักพบว่า ติดต่อได้จากการสัมผัส ไม่ว่าจะเป็น ผ่านการสัมผัสทางผิวหนังโดยตรง หรือการสัมผัสทางอ้อม เช่น การใช้หลอดดูดน้ำ แก้วน้ำ ช้อน หรือแม้แต่การรับประทานอาหารร่วมกัน โดยไม่ใช้ช้อนกลาง ก็อาจจะเป็นอีกสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้เกิดการติดเชื้อเริมที่ริมฝีปากได้
ลักษณะของ \”โรคเริมที่ริมฝีปาก\” ในระยะแรก ก็มักจะพบว่ามีอาการบวม แดง เจ็บ หลังจากนั้นจะมีตุ่มขึ้น โดยมีลักษณะเป็นตุ่มใสเล็กๆ เกาะกันเป็นกลุ่ม หลังจากการเป็นเริมครั้งแรก แม้ว่าแผลที่ริมฝีปากจะหายไป แต่เชื้อของเริมก็ยังคงอยู่ในร่างกาย และมักซ่อนตัวอยู่ตามเส้นประสาท หรือปมประสาทในร่างกาย เมื่อเวลาที่ร่างกายอ่อนแอ หรือว่ามีภูมิต้านทานลดลง เชื้อเริมเหล่านี้ ก็จะแบ่งก่อตัวเพิ่มขึ้น และก่อให้เกิดอาการขึ้นใหม่ซ้ำได้
การป้องกัน การเป็นซ้ำ ในคนที่เพิ่งเป็นเริมที่ริมฝีปากครั้งแรก พบว่าการใช้ยารับประทานในรูปแบบของ \”ยาฆ่าเชื้อไวรัส\” สามารถช่วยลดโอกาสการเป็นซ้ำได้ค่อนข้างดี แต่สำหรับในผู้ที่เคยเป็นเริมมาแล้วหลายครั้ง การใช้ยารับประทานเพื่อป้องกันการเป็นซ้ำ อาจจะไม่ได้ผลเท่าที่ควร สิ่งที่สามารถทำได้เพื่อลดโอกาสการเป็นซ้ำของกรณีนี้ คือการดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ การออกกำลังกาย การดูแลในเรื่องของอารมณ์ ความเครียด การได้รับสารอาหาร โดยเฉพาะกลุ่มของวิตามินให้เพียงพอ ก็พบว่าช่วยลดโอกาสการเป็นซ้ำของเริมได้ ค่อนข้างดี
โดยวิตามินที่มีบทบาทในการช่วยเรื่องของภูมิต้านทานร่างกายให้แข็งแรง และลดโอกาสการเป็นซ้ำของเริม ก็คือ วิตามินซี และวิตามินดี คุณหมอแนะนำว่า ในคนที่เป็นเริมซ้ำบ่อยๆ ควรที่จะรับประทานวิตามินซี วันละ 1,000 mg. เป็นประจำทุกวัน ก็ช่วยในเรื่องของการกระตุ้นภูมิต้านทานในร่างกายให้แข็งแรง ซึ่งนอกจาก
จะป้องกันการเป็นซ้ำของเริมแล้ว ยังช่วยป้องกันการเป็นหวัดอีกด้วย
ในส่วนของวิตามินดี วิธีที่ดีที่สุด คือการที่ร่างกายได้รับแสงแดดอ่อนๆ ทุกวัน ซึ่งจะช่วยให้ร่างกายสังเคราะห์วิตามินดีที่ผิวหนังได้ แต่บางรายที่มีภาวะติดเชื้อง่าย หรือเป็นเริมบ่อย ก็ควรที่จะไปเจาะเลือดเพื่อตรวจเช็ควิตามิน เพราะในบางรายที่มีค่าวิตามินดีต่ำมากๆ ก็อาจจำเป็นที่จะต้องให้เสริม ในรูปแบบอาหารเสริม
ร่วมด้วย
เมดดิไซด์ อัจจิมา สหคลินิก
แพทย์หญิงอัจจิมา สุวรรณจินดา
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน ผ่าตัดผิวหนัง มะเร็งผิวหนังและเลเซอร์ผิวหนัง
โทรศัพท์ : 029549440
Hot Line : 0899006100
Line : @medisci
• Facebook : https://www.facebook.com/Medisci
• Web site : https://www.mediscicenter.com
• Email : [email protected]
•Twitter : https://www.Twitter.com/Medisci
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่INVESTMENT
Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT