พรบ. กับ ต่อภาษี รถต่างกันอย่างไร!! | คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

You are viewing this post: พรบ. กับ ต่อภาษี รถต่างกันอย่างไร!! | คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

พรบ. กับ ต่อภาษี รถต่างกันอย่างไร!!


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

กราบขออภัยด้วยนะครับที่บางตอนผิดพลาดไปนะครับ
โปรดอ่านข้อความอีกครั้ง เพื่อความชัดเจน
รถที่อยู่ในข่ายต้องตรวจสภาพรถก่อนเสียภาษีประจำปี
รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ประเภทรถดังนี้
1. รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน ที่มีอายุใช้งานครบ 7 ปี ขึ้นไป
2. รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน ที่มีอายุใช้งานครบ 7 ปี ขึ้นไป
3. รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล ที่มีอายุใช้งานครบ 7 ปี ขึ้นไป
4. รถจักรยานยนต์ ที่มีอายุใช้งานครบ 5 ปี ขึ้นไป
….ย้ำอีกครั้ง….
พรบ.คือภาคบังคับต้อง ทำกับรถ ทุกคัน ไม่มีข้อยกเว้น หากไม่ทำผิดกฎหมาย เสียค่าปรับ และ ต่อภาษีไม่ได้นะครับ
ประกันภาคสมัครใจ (ป.1, 2 ,2+ , 3+ 3) ไม่มีใครบังคับเรา ไม่ทำก็ได้ แต่เรา ต้องรับความเสี่ยงเองหากชนผู้อื่น
พรบ. กับ ต่อภาษี สงสัยกันไหมครับว่ามันต่างกันยังไง เราไปดูกันเลยพร้อมลิ้งเช็ค ราคาพรบและราคาภาษี เชิญดูกันไปเลย
TMBroker
ทีเอ็มโบรคกอร์
ธนชาตประกันภัย
พรบกับภาษีรถต่างกันยังไง
ความรู้ประกันภัยรถยนต์
พรบ รถ
!!! ซื้อพรบ.รถ ทุกชนิดลด 5% : https://share.724.co.th/insure/a/compulsory/AM00051339
เช็คราคาภาษี :http://www.carrantee.com/cartaxonline.php
ต่อภาษีออนไลน์ https://eservice.dlt.go.th/esvapp/login.jsf
ประกันออนไลน์ http://www.teebrokers.com
คำปรึกษาเรื่องเคลม https://line.me/R/ti/p/%40teebrokers\r
Tee Brokers Fan Page https://www.facebook.com/teebrokers\r
โค้ชธีระ แต้มเรืองอิฐ (ธีร์)
กราบขออภัยหากคลิปมีคำพูดไม่สุภาพ หรือ มีข้อความผิดพลาด

พรบ. กับ ต่อภาษี รถต่างกันอย่างไร!!

แนวทางการดำเนินการตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล PDPA


สัมมนาหัวข้อ “แนวทางการดำเนินการตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)”
โดย คุณรองรักษ์ พนาปวุฒิกุล ผู้ช่วยผู้จัดการ หัวหน้าสายงานกฎหมาย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
วันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม 2563 เวลา 16.00 – 17.00 น.

แนวทางการดำเนินการตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล PDPA

สาระสำคัญ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562


พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 มีวัตถุุประสงค์เพื่อปกป้องสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยจะมีการกำหนดหลักเกณฑ์ กลไก หรือมาตรการกำกับดูแลเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล รวมถึงจะมีการกำหนดมาตรการเยียวยาเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจากการถูกละเมิดสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคล
กฎหมายนี้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 ในบางมาตรา เพื่อให้ทุกภาคส่วนเตรียมความพร้อมก่อนกฎหมายมีผลบังคับใช้ทั้งฉบับ ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2563 โดยในวาระเริ่มแรกกฎหมายกำหนดให้ สำนักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทำหน้าที่ สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ทั้งนี้ สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีความประสงค์ให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการยกร่างกฎหมายลำดับรองที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีความเหมาะสมและเกิดประโยชน์กับทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ email : [email protected]

สาระสำคัญ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

Infographic การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล


ใช้โซเชียลอย่างไรเพื่อรักษาสิทธิของตัวเอง และไม่ไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น
คิดก่อนเชื่อ เชคก่อนแชร์ อย่ามือลั่นจนขาดสติ เพราะทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน

Infographic การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล

ปกป้องสิทธิตัวเองด้วย พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล : รู้เท่ารู้ทัน (14 มี.ค.62)


6
ปกป้องสิทธิตัวเองด้วย พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
นอกจากกระแส พ.ร.บ.ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ที่มีผลบังคับใช้แล้ว ยังมี พ.ร.บ.ที่รอกำหนดประกาศใช้ คือ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ที่จะคุ้มครองความเป็นส่วนตัวพวกเราทุกคน มาดูกันว่า พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล มีบทบาทหน้าที่อย่างไร มีประโยชน์ต่อใครในลักษณะไหน คนละเมิดสิทธิ์จะมีโทษหรือไม่ แล้วการกระทำแบบใดเข้าข่ายละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล
ติดตามชมประเด็นรู้เท่ารู้ทัน ในช่วง \”วันใหม่ ไทยพีบีเอส\” วันพฤหัสบดีที่ 14 มีนาคมนี้ ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง
http://www.thaipbs.or.th/Rutan

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://goo.gl/hdy2ye
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : http://www.thaipbs.or.th/GooglePlus
LINE : http://bit.ly/2GtS44i
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS

ปกป้องสิทธิตัวเองด้วย พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล : รู้เท่ารู้ทัน (14 มี.ค.62)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่INVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment