ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) คืออะไร ? ถ้าขึ้นเป็น10% จะส่งผลอย่างไร? | vat 7 คือ อะไร

You are viewing this post: ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) คืออะไร ? ถ้าขึ้นเป็น10% จะส่งผลอย่างไร? | vat 7 คือ อะไร

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) คืออะไร ? ถ้าขึ้นเป็น10% จะส่งผลอย่างไร?


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) คืออะไร ? ถ้าขึ้นเป็น10% จะส่งผลอย่างไร?

VAT 7% คืออะไร?


VAT 7% กับ ภาษีมูลค่าเพิ่มตัวเดียวกัน?

VAT 7% คืออะไร?

คนไม่ฉลาดเท่านั้นที่จด VAT และคนรวยเค้าก็หนีภาษีกันหมด จริงป่ะ?


คุณเคยได้ยินคนอาบน้ำร้อนมาก่อนพูดใส่คุณแบบนี้มั้ย?
คุณคิดว่ามันจริงมั้ย?
แล้วจะจดไปทำไม?
ผมว่าคำถามนี้มันมีคำตอบในตัวมัน
และวิดีโอพยายามสรุปแบบภาษาชาวบ้าน
ไม่ใช่นักการบัญชี
ไม่ใช่สรรพากร
ตามที่ผมเข้าใจ พร้อมแนวคิดง่ายๆ
ก่อนจะกระแดะเข้า VAT โดยยังไม่จำเป็น
ลองถามตัวเองดูก่อนครับ
เพราะไม่มีใครตอบคำถามนี้ได้ดีกว่า
ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการเอง
ถ้ายังคิดไม่ออกจริงๆ
ปิดบริษัททำอย่างอื่นเถอะครับ เชื่อผม
พูดแรงแต่จริงใจครับ
CEOน้อย100M
เมตรแรกก็พร้อมแล้ว
ถ้ามันดีพอรบกวนแชร์ไปให้ถึงดาวนาเม็ก

คนไม่ฉลาดเท่านั้นที่จด VAT และคนรวยเค้าก็หนีภาษีกันหมด จริงป่ะ?

ยิงโฆษณา facebook ต้องเสียภาษีแล้ว เริ่ม 1 กันยายนนี้


ยิงโฆษณา facebook ต้องเสียภาษีแล้ว เริ่ม 1 กันยายนนี้
.
ฝากทุกคำถามเกี่ยวกับการทำการตลาดออนไลน์ฟรีได้ที่
https://lin.ee/eJISOyq หรือแฟนเพจ https://www.facebook.com/mrdunpurin
แทนคำขอบคุณ อย่าลืมกดปุ่ม \”ติดตาม\” และกระดิ่ง กันด้วยนะครับเพื่อไม่พลาดข่าวสารดีๆครับ

ยิงโฆษณา facebook ต้องเสียภาษีแล้ว เริ่ม 1 กันยายนนี้

อวสานคนหนีภาษี ! เราจะเลี่ยงภาษีได้ยากขึ้นเพราะอะไร ?


จริงไหม? เราจะหนีภาษีกันยากขึ้น เพราะระบบการตรวจสอบที่เปลี่ยนไป และหลายอย่างที่กำลังเปลี่ยนแปลง ทั้งข้อกฎหมาย เทคโนโลยี รวมถึงอื่นๆ อีกมากมายวันนี้พรี่หนอมเลยมาชวนพูดคุยกันในคลิปนี้ครับ
เอาจริง ๆ แล้วตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา เชื่อว่าใครหลายคนจะได้เห็นเรื่องราวทำนองนี้ ไม่ว่าจะเป็น
1. แหล่งข้อมูลตรวจสอบการหลบหนีมีมากขึ้น ทั้งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ข้อมูลแจ้งเบาะแส และข้อมูลภายนอก ที่ช่วยให้การตรวจสอบคนหนีภาษีนั้นเข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ
2. ระบบการตรวจสอบที่เจ้มจ้นจนต้องร้อง ได้แก่..
ระบบ RBA + Big DATA = ระบบการตรวจสอบที่มีหลักเกณฑ์ตามความเสี่ยงของธุรกิจ เชื่อมโยงข้อมูล BIG DATA และรอการพัฒนาเป็น AI ในอนาคต ทำให้กรมสรรพากรมีข้อมูลและแนวทางการตรวจสอบที่เป็นระบบมากขึ้น
ระบบคัดเลือกราย = รายเสี่ยงต้องโดนกรมสรรพากรตรวจสอบมากขึ้น เพราะมีเกณฑ์ในการคัดเลือกอยู่
การจัดกลุ่มผู้ประกอบการ = กลุ่มดี หรือ กลุ่มเสี่ยง คือคำตอบของการจัดการด้านภาษีที่เข้มข้น เพราะถ้าธุรกิจหรือบุคคลไหนอยู่ในกลุ่มเสี่ยง ย่อมมีโอกาสเสี่ยงโดนตรวจสอบมากขึ้นเช่นกัน
3. EPayment คือการรุกหนักผลักเข้าสู่ระบบ คั้งแต่สังคมไร้เงินสดพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ EFiling การยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต รวมถึง ETAX invoice / EWitholding TAX การพัฒนาระบบทั้งสองส่วนนี้จะช่วยให้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบมากขึ้นเช่นกัน แม้ว่าจะอยู่ระหว่างพัฒนา แต่ก็น่าจะมาเรื่อยๆ ตามสไตล์
4. กฎหมายออกใหม่ ตั้งแต่กำหนดให้ ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร หรือ สรรพากรตรวจสอบข้อมูลบัญชีธนาคาร สำหรับธุรกรรมลักษณะเฉพาะที่เข้าเงื่อนไข ทำให้กรมสรรพากรมีข้อมูลในการวิเคราะห์ได้ดีขึ้น ไปจนถึงการตรวจสอบดอกเบี้ยออมทรัพย์ ภาษี eservice ที่กำหนดให้หน่วยงานต่างประเทศต้องนำส่งข้อมูลลูกค้าให้กับสรรพากร
แม้ประเด็นนี้จะยังเห็นไม่ชัดว่ามีผลกระทบด้านภาษีมากแค่ไหน แต่ถ้าลองมองเชื่อมโยงกันได้ก็จะเห็นว่า ข้อมูลธุรกรรมต่างๆ เริ่มมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตเรามากขึ้น นี่คือสิ่งที่ต้องติดตามต่อไปครับ
ป.ล. คลิปนี้ชวนพูดคุยในส่วนประเด็นข้อ 4 เพื้อให้เห็นภาพที่มีผลกระทบกับเราทุกคนครับ
สารบัญคลิป
00:00 Intro
00:50 ทำไมต้องอวสานคนหนีภาษี ?
01:30 ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร
05:27 ธนาคารส่งข้อมูลดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์
07:53 eService ภาษีมูลค่าเพิ่ม
09:26 ลองคิดดูว่า จะเกิดอะไรขึ้น ?
10:29 เราควรทำอย่างไรดี?
ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ ภาษีอีเซอร์วิส

อวสานคนหนีภาษี ! เราจะเลี่ยงภาษีได้ยากขึ้นเพราะอะไร ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่BUSINESS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: BUSINESS

Leave a Comment