#ภาษี10นาที Ep.2 : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คิดแบบไหน วางแผนยังไงนะ? | แบบ ภงด 94

You are viewing this post: #ภาษี10นาที Ep.2 : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คิดแบบไหน วางแผนยังไงนะ? | แบบ ภงด 94

#ภาษี10นาที Ep.2 : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คิดแบบไหน วางแผนยังไงนะ?


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

หลักการการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ การเข้าใจวิธีการคำนวณภาษี การหักค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์ของรายได้ ไปจนถึงหลักเกณฑ์การลดหย่อน สิทธิประโยชน์ และข้อจำกัดต่างๆ เพื่อให้เราสามารถวางแผนภาษีได้อย่างครบถ้วนและสมบูรณ์ตามหลักการณ์ที่ถูกต้องตามกฎหมายนั่นเองครับ
โดยปกติแล้วการคำนวณภาษีจะมี 2 วิธี นั่นคือ \”วิธีคำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ\” กับ \”วิธีคำนวณภาษีจากเงินได้พึงประเมิน\” โดยมีรายละเอียดดังนี้ครับ
1. วิธีคำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ
(รายได้ ค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน) x อัตราภาษี
สำหรับ วิธีแรกนี้ เราต้องรู้ว่า เรามีรายได้ประเภทไหนตามกฎหมาย เพราะกฎหมายจะกำหนดวิธีการหักค่าใช้จ่าย มาให้หักตามประเภทของรายได้ (เงินได้) ครับ ซึ่งการหักค่าใช้จ่ายนั้นจะมีทั้งหักได้แบบเหมาตามที่กฎหมายกำหนดและตามที่จ่ายจริงครับ หลังจากนั้นเราก็ใช้สิทธิประโยชน์ในการวางแผนภาษีจากค่าลดหย่อนที่กฎหมายให้แนวทางไว้ต่อ เพื่อให้เราเสียภาษีน้อยที่สุดครับ
บทความสรุปรายการลดหย่อนภาษีปี2562 คลิกอ่านตรงนี้ได้เลย
https://tinyurl.com/y6glw2m2
2. วิธีเงินได้พึงประเมิน
สำหรับวิธีนี้จะคำนวณเมื่อมีเงินได้ประเภทที่ 28 รวมกันเกิน 1 ล้านบาท โดยคำนวณด้วยการ x 0.5% แล้วนำไปเปรียบเทียบกับวิธีเงินได้สุทธิ วิธีไหนได้จำนวนภาษีมากกว่า ให้เสียภาษีตามวิธีนั้นครับ
รายละเอียดต่างๆ ดูได้จากคลิปสอนคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคลิปนี้เลยครับผม 🙂
ภาษี10นาที ภาษีเงินได้ ภาษีส่วนบุคคล ภาษีหักณที่จ่าย วางแผนภาษี ลดหย่อนภาษี ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คำนวณภาษี
ซีรีย์ ภาษี10นาที ซีรีย์ที่สอนเรื่องภาษีโดยพรี่หนอม TAXBugnoms เพื่อให้ความรู้ภาษีเข้าใจง่ายขึ้น ทุกวันอังคารเวลา 2 ทุ่ม เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2562 เป็นต้นไป และจะทำจนกว่าขี้เกียจทำ 555
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

See also  พาช็อปสำเพ็งกลางคืน แหล่งขายส่ง ขายโคตรถูกกกกก! | แหล่ง ขาย ของ ส่ง

#ภาษี10นาที Ep.2 : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คิดแบบไหน วางแผนยังไงนะ?

EP.10 – ภ.ง.ด.94 (ภาษีครึ่งปี) พ่อค้าแม่ค้าต้องรู้


ภ.ง.ด.94 ภาษีครึ่งปี 2564 บุคคลธรรมดา คืออะไร
มีใครเกี่ยวข้องบ้าง
มาทำความเข้าใจกันนะค่ะ ภาษีครึ่งปี บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.94
1.ภ.ง.ด.94 คืออะไร
2.มีอาชีพอะไร ใครบ้างที่ต้องยื่น
3.หักอะไรได้บ้าง ยื่นอย่างไร
มาดูรายละเอียดแต่ละหัวข้อเลยค่ะ
อัพเดทข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่
Facebook : https://www.facebook.com/AccountingForSMEThai
Line@: @accang

บัญชีเพื่อธุรกิจSME​ พี่อังอังChannel AccountingForSMEThai Accounting
SME ภาษีอย่างง่าย

EP.10 - ภ.ง.ด.94 (ภาษีครึ่งปี) พ่อค้าแม่ค้าต้องรู้

การยื่นแบบภงด 94 ยื่นแบบผ่านเน็ต


See also  my home ตอน \"บ้านในสไตล์ American Vintage \" วันที่ 31 ตุลาคม 2558 AMARIN TV HD ช่อง 34 | แต่ง ร้าน สไตล์ วิน เท จ

ชุดความรู้การยื่นแบบผ่าน Internet

การยื่นแบบภงด 94 ยื่นแบบผ่านเน็ต

ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี Ep.2 : ประมาณการขาดเกิน 25% และเหตุอันควรที่ไม่เสียเงินเพิ่ม 20%


หนึ่งในปัญหาการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีที่ชวนให้ปวดหัว นั่นคือ การประมาณกำไรไว้น้อยกว่ากำไรที่เกิดขึ้นจริงมากกว่า 25% โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรเมื่อไร มันจะส่งผลให้กิจการของเราต้องเสียเงินเพิ่มอีก 20% ของภาษีที่ชำระขาดไปทันที
คลิปนี้จะให้ดูว่า ถ้าตอนแรก บริษัท บักหนอม ประมาณการกำไรสุทธิทั้งปีไว้ 1,000,000 บาท ปรากฎว่าตอนสิ้นปี มีกำไรเกิดขึ้นจริงจำนวน 3,000,000 บาท กลายเป็นว่ากำไรที่ประมาณการไว้น้อยกว่ากำไรจริงถึง 2,000,000 บาท หรือคิดเป็น 66.67% ซึ่งมากกว่า 25%
ตรงนี้จะมีผลทำให้บริษัทบักหนอมต้องเสียเงินเพิ่ม 20% ของภาษีที่ชำระขาดไปทันที ถ้าหากไม่มีเหตุอันสมควรมาชี้แจงกับสรรพากรให้ชัดเจน หรือทำตามแนวทางผ่อนปรนต่อไปนี้ คือ
1. กรณีที่คำนวณออกมาแล้วพบว่า ภาษีครึ่งปีที่คำนวณได้ไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของภาษีสิ้นปีที่คำนวณได้ของปีที่แล้ว
2. กรณีที่นิติบุคคลได้รับสิทธิลดอัตราภาษีในปีนี้ หากมีการประมาณการกำไรสุทธิของปีนี้ไว้ไม่น้อยกว่ากำไรสุทธิปีที่แล้ว ก็จะถือว่าเป็นเหตุอันสมควรเช่นกัน
รายละเอียดดูได้จากคลิปนี้เลยครับผม
ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีครึ่งปี ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ภงด51 ประมาณการกำไรสุทธิ เหตุอันสมควร ประมาณการขาดเกิน ยื่นภาษีผ่านอินเตอร์เน็ต
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี Ep.2 : ประมาณการขาดเกิน 25% และเหตุอันควรที่ไม่เสียเงินเพิ่ม 20%

อัพเดทล่าสุด! เลื่อนยื่นภาษี 2564 พร้อมงดและลดเบี้ยปรับ ค่าปรับ จาก #สรรพากร (สิงหาคม 2564)


สรุปมาตรการภาษี ขยายเวลายื่นแบบ ลดเบี้ยปรับ ตามประกาศกระทรวงการคลังฉบับล่าสุด สำหรับภาษีที่เกี่ยวกับกรมสรรพากร โดยแยกออกเป็นประเด็นสำคัญ 5 ประเด็นดังนี้ครับ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ครึ่งปี เลื่อนให้ถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2564

See also  [FFCTH] FreeFire:สอนรับเพชร(ฟรี)GMไม่ได้บอก รีบดู | เว็บ ฟรี ขาย ของ

ภาษีเงินได้นิติบุคคล ปี 2563 และ ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี 2564 ที่ต้องยื่นแบบในช่วง 3 ส.ค. 22 ก.ย. 64 เลื่อนให้ถึงวันที่ 23 กันยายน 2564
ภาษีเงินได้หักณที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม และ ภาษีธุรกิจเฉพาะ สำหรับเดือนภาษีสิงหาคม พฤศจิกายน ให้เลื่อนยื่นตามเวลาดังนี้
เดือนสิงหาคม (30 กันยายน 2564) เดือนกันยายน (29 ตุลาคม 2564) เดือนตุลาคม (30 พฤศจิกายน 2564) เดือนพฤศจิกายน (30 ธันวาคม 2564)
โดยจะให้ในกรณีที่มีการ ยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต เท่านั้น
นอกจากนั้นยังมีการ ลดหรืองดเบี้ยปรับ และค่าปรับอาญา กรณีไม่สามารถยื่นภายในเวลาที่กำหนด หรือยื่นภายในกำหนดแต่เกิดความผิดพลาด เฉพาะสำหรับแบบที่ต้องยื่น ภายในเดือนกันยายน ธันวาคม 2564
หากยื่นแบบฯ ภายใน 3 เดือน นับจากพ้นกำหนด จะได้รับการงดหรือลดเบี้ยปรับตามแต่ละกรณี โดยจะงดเบี้ยปรับ ในกรณีชำระภาษีเต็มจำนวน และลดเบี้ยปรับในอัตราต่ำสุด 2% เมื่อชำระภาษีไม่ต่ำกว่า 25%
ส่วนค่าปรับอาญา กรณีไม่เกิน 2000 บาท ลดเหลือ 1 บาท และกรณีไม่เกิน 5000 บาท ลดเหลือ 2 บาทครับ
สารบัญ
00:00 Intro
00:43 ทำความเข้าใจเรื่องเลื่อนยื่นภาษี
01:50 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี
02:42 ภาษีเงินได้นิติบุคคล
04:39 ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
05:10 ภาษีมูลค่าเพิ่ม
06:31 งดและลดเบี้ยปรับ
08:39 สรุปประเด็น
ยื่นภาษี เลื่อนยื่นภาษี สรรพากร ภาษี ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม

อัพเดทล่าสุด! เลื่อนยื่นภาษี 2564 พร้อมงดและลดเบี้ยปรับ ค่าปรับ จาก #สรรพากร  (สิงหาคม 2564)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆBUSINESS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: BUSINESS

Leave a Comment