ส30217 กฎหมายน่ารู้ l ทำไมผู้เยาว์ถูกจำกัดการใช้สิทธิตามกฎหมาย | กฎหมาย เกี่ยว กับ ความ สามารถ ของ ผู้เยาว์

You are viewing this post: ส30217 กฎหมายน่ารู้ l ทำไมผู้เยาว์ถูกจำกัดการใช้สิทธิตามกฎหมาย | กฎหมาย เกี่ยว กับ ความ สามารถ ของ ผู้เยาว์

ส30217 กฎหมายน่ารู้ l ทำไมผู้เยาว์ถูกจำกัดการใช้สิทธิตามกฎหมาย


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

บรรยายโดย ครูภาคินนท์ แก้วประภาค
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
ใช้ประกอบการสอนวิชา ส30217 กฎหมายน่ารู้
(ใช้เพื่อการศึกษา มิได้มีวัตถุประสงค์แสวงหากำไรแต่อย่างใด)

ส30217 กฎหมายน่ารู้ l ทำไมผู้เยาว์ถูกจำกัดการใช้สิทธิตามกฎหมาย

ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ : ภาพรวม


รับปรึกษาคดีโดยทนายความ แอดไลน์ songkran570
เป็นการบรรยายในภาพรวมนะครับ ความผิดแต่ละฐานจะทยอยๆลง
อ่านคำอธิบายความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ได้ที่ readawrite นะครับ
https://www.readawrite.com/a/fbc63082fb219554b96af8d38475e698
ปรึกษาคดีไม่มีค่าใช้จ่าย/รับว่าความทั่วราชอาณาจักร
http://line.me/ti/p/~songkran5703
FB:สงกรานต์ ทนายสงกรานต์ สาระกิจ

ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ : ภาพรวม

ความรู้กฎหมายเบื้องต้น


1. ความหมายของฏฎหมาย
2. ลักษณะของกฎหมาย
3. ความสำคัญของกฎหมาย
4. ที่มาของกฎหมาย
5. ระบบกฎหมาย
6. คำถามน่ารู้กฎหมาย 5 ข้อ

ความรู้กฎหมายเบื้องต้น

กฎหมายเกี่ยวกับบุคคล วันที่ 10 ก.ค.63


วิชา : สังคมศึกษา (หน้าที่พลเมือง)
วันที่ : 22 พ.ค. 2563
เรื่อง : กฎหมายเกี่ยวกับบุคคล
ผู้สอน : นายภาคินนท์ แก้วประภาค

กฎหมายเกี่ยวกับบุคคล  วันที่  10 ก.ค.63

พ.ร.บ.หลักเกณฑ์จัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย – ออกอากาศวันที่ 3 สิงหาคม 2562


ราชกิจจานุเบกษาเมื่อ วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย กฎหมายฉบับนี้มีผลสืบเนื่องมาจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 77 ว่ารัฐพึงจะให้มีกฎหมายเท่าที่จำเป็นและยกเลิกกฎหมายที่หมดความจำเป็นหรือไม่สอดคล้องต่อการดำรงชีวิต เพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน และดำเนินการให้ประชาชนเข้าถึงบทกฎหมายต่างๆได้โดยสะดวก
มาตรา 9 ระบุไว้ว่า ในกรณีที่กฎหมายใดกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นในการจัดทำร่างกฎหมาย ขณะเดียวกันก็ได้มีการมอบหมายให้สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล รับผิดชอบให้มีการพัฒนาระบบกลาง เกี่ยวกับเรื่องของข้อมูลการรับฟังความคิดเห็นตามกฎหมายทั้งหมด เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงตัวกฎหมาย การตรวจสอบความจำเป็นและการรับฟังความเห็น การวิเคราะห์ผลกระทบ ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญตามรัฐธรรมนูญมาตรา 77
มาตรา 13 ให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการรับฟังความคิดเห็นผ่านระบบกลาง มาตรา 14 ระบุว่า ให้หน่วยงานของรัฐนำประเด็นสำคัญการร่างกฎหมายไปรับฟังความคิดเห็นและต้องมีข้อมูลประกอบการรับฟังความคิดเห็น ซึ่งกฎหมายระบุว่าข้อมูลนั้นอย่างน้อยต้องมีเรื่องต่อไปนี้ 1.ต้องมีเรื่องเกี่ยวกับสภาพปัญหา สาเหตุ 2.ต้องมีคำอธิบายหลักการร่างกฎหมาย โดยใช้ภาษาที่เข้าใจได้ง่าย 3.บุคคลซึ่งอาจได้รับผลกระทบจากกฎหมาย หรือผลกระทบอื่นที่สำคัญ 4.เหตุผลความจำเป็นในการกำหนดให้มีระบบอนุญาต ระบบคณะกรรมการ หรือการกำหนดโทษอาญา
ด้านการตรวจสอบเนื้อหาการร่างกฎหมาย ในมาตรา 21 ระบุว่า หน่วยงานของรัฐ เมื่อจะทำร่างกฎหมายต้องตรวจสอบและพิจารณาจัดทำร่างกฎหมายให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ มีหลักเกณฑ์อยู่ 9 ข้อ 1.ต้องสอดคล้องและไม่ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญ 2.ต้องสอดคล้องและไม่ขัดแย้งกับยุทธศาสตร์และแผนการพัฒนาประเทศ 3.สอดคล้องกับหลักบริหารจัดการบ้านเมือง 4.ยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่ไม่สอดคล้องกับสภาพการ 5.ไม่ใช้ระบบอนุญาต เว้นแต่มีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบของประเทศชาติ 6.ไม่ใช้ระบบคณะกรรมการ เว้นแต่เพื่อกำหนดนโยบายหรือเพื่อกำหนดกฎเกณฑ์และการอื่นที่จำเป็น 7.การมีบทบัญญัติให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ มีดุลพินิจในการออกคำสั่งทางปกครอง การร่างกฎหมายสำคัญต่างๆเอาไว้ให้ชัดเจน 8.การกำหนดโทษอาญาสำหรับการกระทำผิดใดให้ยึดหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ การกระทำนั้นต้องกระทบต่อความมั่นคงของประเทศหรือมีผลกระทบต่อส่วนรวม ในหลักการที่ 9 นั้นเป็นประเด็นอื่นที่รัฐมนตรีจะกำหนดขึ้น

พ.ร.บ.หลักเกณฑ์จัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย - ออกอากาศวันที่ 3 สิงหาคม 2562

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆINVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment