ชัวร์ก่อนแชร์ : น้ำมันมะพร้าวรักษาโรคเริม จริงหรือ ? | เริม เป็น ยัง ไง

You are viewing this post: ชัวร์ก่อนแชร์ : น้ำมันมะพร้าวรักษาโรคเริม จริงหรือ ? | เริม เป็น ยัง ไง

ชัวร์ก่อนแชร์ : น้ำมันมะพร้าวรักษาโรคเริม จริงหรือ ?


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

บนสังคมออนไลน์แชร์สูตรรักษาโรคเริมหายด้วยการใช้น้ำมันมะพร้าว เรื่องนี้จริงหรือไม่? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
คลิกชม
►http://www.tnamcot.com/view/59b93c7ce3f8e41371e41130
✮สมัครรับข้อมูลฟรี! Subscribe ► https://www.youtube.com/tnamcot
✮ชมทุกตอน \”ชัวร์ก่อนแชร์\” ►https://goo.gl/zmgfeG
✮ข่าวดังข้ามเวลา ► https://goo.gl/rKcCQq
✮สกู๊ปพิเศษ ► https://goo.gl/Yw0ZIw
✮เห็นแล้วอึ้ง ► https://goo.gl/zFvXUA
✮เกษตรทำเงิน ► https://goo.gl/zF5aWu
✮เกษตรสร้างชาติ ► https://goo.gl/iSr814
✮ภาพมุมมองใหม่ | ท่องเที่ยววิถีไทยเก๋ไก๋สไตล์ลึกซึ้ง ► https://goo.gl/Z9DVHZ
คลิกชม
1.สารคดีเฉลิมพระเกียรติ ► https://goo.gl/IPLmNK
2.พระราชกรณียกิจพระมหากรุณาธิคุณ ► https://goo.gl/XH7ayo
3.คนไทยหัวใจ♥รักในหลวง ► https://goo.gl/CKPWpl

ติดตาม สำนักข่าวไทย อสมท (ช่อง 9MCOT HD หมายเลข 30 | Thai News Agency MCOT
► เว็บ http://www.tnamcot.com
► เฟซบุ๊ก https://www.facebook.com/tnamcot
► แอดไลน์ (LINE) @TNAMCOT หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40tnamcot
► ทวิตเตอร์ https://www.twitter.com/tnamcot
► อินสตาแกรม https://instagram.com/tnamcot
► ยูทูบ https://www.youtube.com/tnamcot
► ชมข่าวย้อนหลัง https://www.youtube.com/tnamcot ชัวร์ก่อนแชร์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ SureAndShare FactChecking

ชัวร์ก่อนแชร์ : น้ำมันมะพร้าวรักษาโรคเริม จริงหรือ ?

ข่าวไทยไทย ร่างกายอ่อนแอ ต้องระวัง! โรคงูสวัด 05/11/63


ใครที่ร่างกายอ่อนแอ มีภูมิคุ้มกันต่ำ มีความเครียดสูง หรือกระทั้งผู้สูอายุ ต้องระวัง
โรคงูสวัด คือ โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อไวรัสตัวเดียวกันกับโรคอีสุกอีใส ซึ่งเชื้อไวรัสตัวนี้สามารถแอบเนียน ๆ อยู่ในปมประสาทของเรา โดยที่เราไม่รู้ตัวได้เป็นระยะเวลานานหลายปี โดยเฉพาะผู้ที่เคยเป็นโรคอีสุกอีใส แถมช่วงนี้ร่างกายยังมีภูมิต้านทานต่ำ ยิ่งต้องระวังโรคงูสวัดมาเยือน
อาการของโรคงูสวัด สามารถพบได้ทั้งที่ใบหน้า ปาก แขน รอบเอว หลัง ขา หรือแม้แต่งูสวัดขึ้นตา แบ่งได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้
เริ่มต้นผู้ป่วยจะมีอาการปวดแสบร้อนลึก ๆ โดยหาสาเหตุไม่ได้ และอาจมีไข้ร่วมด้วย ทั้งนี้เพราะช่วงนี้ภูมิต้านทานของร่างกายลดต่ำลง ทำให้เชื้อไวรัสเริ่มเพิ่มจำนวน เกิดการติดเชื้อที่ระบบประสาท จึงมีอาการปวดแสบร้อนลึก ๆ ในระดับเส้นประสาท
หลังจากที่ปวดแสบร้อนได้ประมา 23 วัน จะเข้าสู่ระยะที่ 2 เริ่มมีผื่นแดง ต่อมากลายเป็นตุ่มน้ำใสเต่ง ๆ (รูปร่างคล้ายหยดน้ำกลิ้งบนใบบัว) เรียงกันเป็นกลุ่ม ๆ เป็นแนวยาว ๆ ตามเส้นประสาทของร่างกายเป็นหย่อม ๆ เช่น ตามความยาวของแขน หรือตามความยาวของขา หรือรอบเอว รอบหลัง หรือศีรษะ เป็นต้น ตุ่มน้ำใสเต่ง ๆ ของงูสวัดนี้จะแตกออกเป็นแผลต่อมาก็จะตกสะเก็ด และหายได้เองภายใน 2 สัปดาห์
เมื่อตุ่มแตก และแผลหายดีแล้ว (ระยะที่ 3)ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะยังมีอาการปวดแสบร้อนลึก ๆ ตามรอยแนวของโรคที่เกิดขึ้น ในบางคนอาจเกิดได้อีกเป็นเดือน หรือหลาย ๆ เดือน โดยเฉพาะผู้สูงอายุบางคนอาจมีอาการปวดแสบร้อนลึกๆหลังจากที่แผลหายดีแล้วเป็นปีๆ

ข่าวไทยไทย  ร่างกายอ่อนแอ ต้องระวัง! โรคงูสวัด 05/11/63

รู้ได้อย่างไรว่าเป็นเริมหรือไม่ รักษาอย่างไร ? | เภสัชกรออนไลน์


โรคเริมเกิดจากเชื้อ herpes simplex virus/HSV นะคะ ซึ่งมีอยู่ 2 ชนิดค่ะ
1. HSV1 ก่อให้เกิดเริมตามผิวหนังทั่วไป และในช่องปากเป็นส่วนใหญ่ค่ะ
2. HSV2 ก่อให้เกิดเริมที่อวัยวะเพศเป็นส่วนใหญ่ สำหรับโรคเริมที่อวัยวะเพศ ถือเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง
โรคนี้จะติดต่อโดยการสัมผัสโดยตรง โดยเชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทางเนื้อเยื่ออ่อนหรือแผล แล้วกระจายตัวไปอาศัยอยู่ที่ปมประสาทอย่างสงบ
ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการกำเริบขึ้นได้ เมื่อร่างกายอ่อนแอ หรือเกิดความเครียดจากการบาดเจ็บ การได้รับแสง UV อุณหภูมิที่ร้นจัดหรือเย็นจัด ความเครียดทางจิตใจ การได้รับยากดภูมิคุ้มกัน หรือมีการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนในร่างกาย
เริมที่ริมฝีปาก
มักขึ้นที่บริเวณผิวหนังใกล้ๆ ริมฝีปาก โดยการติดเชื้อครั้งแรก ผู้ป่วยอาจจะมีอาการเป็นไข้ เจ็บปาก เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองโต และอาจมีอาการเหงือกอักเสบร่วมด้วย
เริมในช่องปาก มักพบในเด็กอายุ 15 ปี จะเริ่มจากการมีตุ่มน้ำที่ทำให้รู้สึกเจ็บปวด หลังจากนั้นตุ่มน้ำจะแตกเป็นแผลตื้น ๆ มีฝ้าขาวหรือเลือดแห้งกรัง บริเวณกระพุ้งแก้ม เหงือก เพดานปาก หรือลิ้น อาจรุนแรงจนกินอาหารไม่ได้ แผลเหล่านี้จะหายได้เองภายใน 23 สัปดาห์ แต่เชื้อที่ซ่อนตัวอย่างสงบที่ปมประสาทจะไม่ได้หายไป อาการของโรคเริมสามารถกลับมากำเริบได้อีกถ้าร่างกายอ่อนแอ
เริมที่อวัยวะเพศ
จะติดต่อโดยการร่วมเพศกับคนที่เป็นโรคนี้ หลังจากนั้น 47 วันจะมีอาการที่อวัยวะเพศ โดยตุ่มใสที่เกิดขึ้นจะแตกเป็นแผลเล็ก ๆ คล้ายแผลถลอกและมีอาการเจ็บ ถือเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของอาการเป็นแผลที่อวัยวะเพศ
มักเป็นบริเวณปลายอวัยวะเพศชาย และบางครั้งอาจเป็นที่ทวารหนักหรือบริเวณรอบ ๆ ปากทวารหนักได้ แผลที่เกิดขึ้นจะค่อยๆ หายไปได้เองภายใน 12 สัปดาห์ โดยไม่มีแผลเป็น
เมื่อเคยเป็นโรคนี้ครั้งหนึ่งแล้ว เชื้อก็จะหลบไปอยู่ที่ปมประสาทเหมือนกัน ถ้าร่างกายทรุดโทรม หรือมีการเสียดสี เช่น จากการร่วมเพศ เชื้อก็จะโผล่ขึ้นมาทำให้เกิดโรคได้อีก ซึ่งไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อครั้งใหม่ เมื่อร่างกายมีภูมิต้านทาน โรคนี้อาจจะหายขาดได้เอง
การรักษาโรคเริม
โรคเริมที่ริมฝีปาก จะใช้ยารักษาตามอาการ เช่น ครีมหรือขี้ผึ้งให้ความชุ่มชื้น และยาแก้ปวด
การใช้ยาครีม Acyclovir หรือครีมพญายอ จะช่วยให้แผลและอาการปวดแสบหายได้เร็วขึ้น
การรักษาเริมที่กลับมาเป็นซ้ำด้วยยาชนิดรับประทาน Acyclovir หรือ Valacyclovir ควรให้ภายใน 72 ชั่วโมง หลังเริ่มมีอาการ จะช่วยให้แผลหายได้เร็วขึ้น ลดระยะเวลาในการกำจัดเชื้อไวรัส และป้องกันการกลับซ้ำได้
สรุป
อาการของโรคเริม เริ่มแรกจะมีอาการแสบๆ เคืองๆ นำมาก่อนเล็กน้อย แล้วจะมีตุ่มน้ำใสขนาด 23 มิลลิเมตรขึ้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยรอบจะเป็นผื่นแดง ต่อมาตุ่มน้ำใสนี้จะเป็นสีเหลืองขุ่น แล้วแตกกลายเป็นสะเก็ด ซึ่งจะหายได้เองภายใน 12 สัปดาห์
ตำแหน่งที่พบบ่อย ได้แก่ ริมฝีปาก แก้ม จมูก หู ตา ก้น อวัยวะสืบพันธุ์ นอกจากนี้ต่อมน้ำเหลืองในบริเวณใกล้เคียงมักจะโตและเจ็บด้วย เมื่อหายแล้ว เชื้อจะหลบไปที่ปมประสาทแล้วอาจโผล่ขึ้นมาใหม่ ทำให้โรคกำเริบได้ ประมาณปีละ 14 ครั้ง ซึ่งมักเกิดหลังมีไข้ ถูกแสงแดดจัด อาหารไม่ย่อย ร่างกายอิดโรย ความเครียด ระหว่างมีประจำเดือน หรือตั้งครรภ์

กดติดตามจะได้ไม่พลาดคลิปใหม่ของเรา
https://qrgo.page.link/BpxTj
เป็นเพื่อนกันและติดตามข่าวสารช่องทางอื่นๆ
Facebook ► https://www.facebook.com/propharmacist.drugstore
IG ► https://www.instagram.com/propharmacist.online
TikTok ► https://www.tiktok.com/@propharmacist.online
Line ► https://lin.ee/iUlx1Vm

รู้ได้อย่างไรว่าเป็นเริมหรือไม่ รักษาอย่างไร ? | เภสัชกรออนไลน์

โรคงูสวัด อันตรายถึงชีวิต? | พบหมอมหิดล [by Mahidol Channel]


รู้ทันโรคงูสวัด โรคร้ายที่ซ้อนตัวอยู่ในปมประสาท อันตรายถึง “ตาบอด เสียชีวิตได้” จริงหรือ?
ใครที่เคยเป็น “โรคสุกใส” หรือ “อีสุกอีใส” มาก่อนล้วนมีความเสี่ยงเป็น “โรคงูสวัด” เมื่อคนไข้หายจากโรคสุกใสแล้ว เชื้อจะไปหลบซ่อนอยู่ในปมประสาทของร่างกาย และเมื่อร่างกายอ่อนแอ มีภูมิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ เชื้อที่แฝงตัวอยู่ก็จะแบ่งตัวเพิ่มจำนวนทำให้ เส้นประสาทอักเสบ มีอาการปวดตามแนวเส้นประสาทและปล่อยเชื้อไวรัสออกมาที่ผิวหนังตามแนวเส้นประสาท ทำให้เป็นผื่นตุ่มน้ำใส ๆ และส่งผลให้คนไข้ปวดทรมานตามแนวเส้นประสาท แล้วเราจะป้องกัน รักษา โรคนี้ได้อย่างไร ผศ.ดร.พญ.จิตติมา ฐิตวัฒน์ แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ม.มหิดล มีคำตอบในรายการพบหมอมหิดล
งูสวัด พบหมอมหิดล MahidolChannel
––––––––––––––––––––
ช่อง YouTube | Mahidol Channel : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook | http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล | https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน | https://www.tm.mahidol.ac.th/th/indexth.php

โรคงูสวัด อันตรายถึงชีวิต? | พบหมอมหิดล [by Mahidol Channel]

โรคผิวหนัง ป้องกันรักษาได้ ตอน โรคเริม | สารคดีสั้นให้ความรู้


เป็นโรคติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งของผิวหนังและเยื่อเมือกต่าง ๆ ทำให้มีลักษณะพุขึ้นเป็นตุ่มใสเล็ก ๆ แล้วแตกเป็นแผล ตกสะเก็ด ซึ่งหายได้เอง แต่มักกำเริบซ้ำและเป็น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำมักมีอาการกำเริบได้บ่อยและรุนแรงกว่าปกติ

โรคผิวหนัง ป้องกันรักษาได้ ตอน โรคเริม | สารคดีสั้นให้ความรู้

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่INVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment