ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation) | ภาวะเงินเฟ้อ | สังเคราะห์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ที่สุดในหัวข้อเศรษฐกิจการเงินและการลงทุน

You are viewing this post: ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation) | ภาวะเงินเฟ้อ | สังเคราะห์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ที่สุดในหัวข้อเศรษฐกิจการเงินและการลงทุน

ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation) | ภาวะเงินเฟ้อ.

[button color=”primary” size=”small” link=”#” icon=”” target=”false” nofollow=”false”]ชมวิดีโอด้านล่าง[/button]

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับบทความ ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation).

ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation)
ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation)

สามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมได้ที่นี่: https://castu.org/investment/

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ ภาวะเงินเฟ้อ.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา หลีกภัย คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง.

>>https://castu.org/ เราหวังว่าข้อมูลนี้จะมีคุณค่าอย่างยิ่งสำหรับคุณ ขอบคุณมากที่รับชม.

ภาวะเงินเฟ้อ – การค้นหาที่เกี่ยวข้อง.

#ภาวะเงนเฟอ #Inflation.

[vid_tags]

ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation)

ภาวะเงินเฟ้อ.

ด้วย แบ่งปัน ในหัวข้อ ภาวะเงินเฟ้อ นี้จะ มีคุณค่า มาสู่คุณ ขอบคุณมากที่รับชม.

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

2 thoughts on “ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation) | ภาวะเงินเฟ้อ | สังเคราะห์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ที่สุดในหัวข้อเศรษฐกิจการเงินและการลงทุน”

  1. ภาวะเงินเฟ้อ inflation
    – ภาวะเงินเฟ้อ คือ ภาวะที่ราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปเพิ่มสูงขึ่นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าและบริการบางอย่างในระยะเวลาสั้นๆยังไม่ถือเป็นภาวะเงินเฟ้อของระบบเศรษฐกิจ
    – สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ 1.ความต้องการซื้อสินค้าและบริหารเพิ่มสูงขึ้น demand to inflation ทำให้สินค้าและบริการมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค ราคาและบริการจึงปรับตัวสูงขึ้น 2.ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น cosput inflation จึงต้องปรับราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นไปด้วย
    – ผลกระทบจากภาวะเงินเฟ้อต่อผู้บริโภค การที่ระดับราคาสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นอย่สงต่อเนื่องส่งผลให้ผู้บริโภคมีอำนาจซื้อลดลง ด้วยงบประมาณที่เท่าเดิม ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าและบริการได้น้อยลงหรือถ้าหากผู้บริโภคจะซื้อสินค้าและบริการจำนวนเท่าเดิม ก็จะต้องจ่ายด้วยงบประมาณที่มากขึ้น ส่งผลให้รายได้ที่มีไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ
    – ประเภทของเงินเฟ้อ 1.เงินเฟ้ออย่างอ่อน คือ อัตราเงินเฟ้อที่ไม่เกินร้อยละ 5 ซึ่งจะช่วยกระตุ้นการลงทุน การผลิตและการจ้างงาน ให้เกินการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 🔥🔥2.เงินเฟ้อปานกลาง คือ อัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในช่วงตั้งแต่ร้อยละ 5 แต่ไม่เกนร้อยละ 20 ซึ่งจะส่งผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจ ดังนั้น รัฐบาลจะเข้าแก้ไขปัญหาโดยใช้นโยบายการคลัง 🔥🔥3.เงินเฟ้ออย่างรุนแรง คือ อัตราเงินเฟ้อที่สูงกว่าร้อยละ 20 ซึ่งจะส่งผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจอย่างมาก จะเกิดขึ้นในช่วงของการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจหรือภาวะสงคราม
    – แนวทางการแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ 1.การใช้นโยบายทางการเงินแบบหดตัว contractionary monetary policy เพื่อลดปริมาณเงินในมือประชาชนให้น้อยลง ด้วยวิธีการดังนั้น 1.1 เพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝากอละเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ 1.2 เพิ่มการขายพันธบัตรรัฐบาล ให้กับประชาชนมากขึ้นและในขณะเดียวกันก็ลดการรับซื้อคือพันธบัตรจากประชาชน 1.3 ลดการขยายเครดิตหรือปบ่อยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ 🎉🔥2.การใช้นโยบายการคลังแบบหดตัว contractionary fiscal policy เพื่อลดปริมาณเงินในมือประชาชน ด้วยวิธีการดังนี้ 2.1 เพิ่มการเก็บภาษีจากประชาชน 2.2 การตั้งงบประมาณแบบเกินดุลกรือการตั้งงบประมาณให้รายได้ของรัฐบาลมากว่ารายจ่ายของรัฐบาล

    Reply

Leave a Comment