รู้สู้โรค : การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างฉลาด (26 ธ.ค. 59) | amoxicillin ยา

You are viewing this post: รู้สู้โรค : การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างฉลาด (26 ธ.ค. 59) | amoxicillin ยา

รู้สู้โรค : การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างฉลาด (26 ธ.ค. 59)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

หากเป็นหวัด ท้องเสีย หรือมีแผลสดเล็กน้อย ต้องกินยาปฏิชีวนะหรือไม่ มาหาคำตอบกันกับคุณพุทธรัตน์ ขันอาษา เภสัชกร ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลศิริราช

ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : www.thaipbs.or.th/GooglePlus
LINE : @ThaiPBS
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS

รู้สู้โรค : การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างฉลาด (26 ธ.ค. 59)

Rap ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช่ยาแก้อักเสบ | RAPCHER คาบที่ 4


คาบที่ 4 ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช่ยาแก้อักเสบ 💊💊💊หลาย ๆ คนยังเรียกชื่อยาผิด ทำให้เกิดการใช้ยาชนิดนี้แบบผิด ๆ ส่งผลให้เกิดเชื้อดื้อยาซึ่งอันตรายต่อชีวิตด้วยนะครับ 😱
มาเข้าเรียนและร่วมส่งต่อความรู้กันเยอะ ๆ นะครับ🙏❤️
หมายเหตุ เพจ Rapcher หรือผู้ทำคลิปนี้มีอาชีพเป็นครูครับ ไม่ได้เป็นเภสัชกรอาชีพแต่อย่างใด แต่ได้หาข้อมูลจากเภสัชกรหลาย ๆ ท่าน รวมถึงบทความต่าง ๆ จนเกิดเป็นคลิปดังกล่าวขึ้น ขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุก ๆ ท่านมา ณ ที่นี้ครับ 🙏😊
ยาแคปซูลที่ต้องกินให้หมดแผลงในคลิปที่พูดถึงหมายถึง Amoxicillinหรือยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อแบคทีเรียเท่านั้น อย่างไรก็ตามมีมิตรสหายท่านหนึ่งได้ชี้แจงว่ายาแก้อักเสบที่เป็นแคปซูลก็มีเหมือนกัน และเกรงว่าคนจะเข้าใจผิดหาก ได้รับยากลุ่ม NSIADs (ยาต้านการอักเสบ) ที่บรรจุในแคปซูล และเข้าใจว่าต้องกินให้หมดแผลง ซึ่งจะเกิดอันตรายได้ ขอบคุณมิตรสหายท่านหนึ่งเป็นอย่างสูงครับ ❤️😁🙏
สรุปทางที่ดีที่สุดนะครับ ถ้าเจ็บป่วยจะซื้อยาก็แค่บอกอาการ เจ็บคอ ปวดตัว ฯลฯ เภสัชจะจัดการ จัดตามอาการอย่างที่คุณเป็น ที่กว่าน้ำตากระเด็นเพราะติดเชื้อดื้อยาจ้า 💊🙏😁❤️

Rap ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช่ยาแก้อักเสบ | RAPCHER คาบที่ 4

ยาฆ่าเชื้อ ยาปฏิชีวนะ ในเด็กใช้ผิดวิธีเสี่ยงดื้อยา Antibiotics use in Children


ยาฆ่าเชื้อ ยาปฏิชีวนะ ในเด็กใช้ผิดวิธีเสี่ยงดื้อยา Antibiotics use in Children
คุณพ่อคุณแม่ผู้ปกครองคงสงสัยว่าเวลาพาลูกไปหาหมอ จะให้ยาฆ่าเชื้อบ้าง ไม่ให้บ้าง ซึ่งถ้าคุณหมอไม่ให้ยาฆ่าเชื้อคุณพ่อคุณแม่เองก็จะปักใจเชื่อว่ายังไงก็ไม่หาย จริงๆแล้วยาฆ่าเชื้อนั้นใช้รักษาเฉพาะโรคเท่านั้น ไม่ใช่ยาครอบจักรวาลที่จะรักษาได้ทุกโรค ซึ่งทุกวันนี้มีปัญหาเชื้อดื้อยาเพิ่มสูงมาก โดยเกิดจากคุณพ่อคุณแม่ซื้อยาฆ่าเชื้อมาให้น้องทานเองซึ่งจะทำให้เกิดผลเสียตามมาหลายๆด้าน
โดยเนื้อหาในคลิปจะประกอบไปด้วย
0. 0:00 กล่าวนำ
1. 01:09 ยาฆ่าเชื้อ ยาแก้อักเสบ ยาปฏิชีวนะ คืออะไร
2. 01:48 ทำไมต้องใช้ ยาฆ่าเชื้อ ยาปฏิชีวนะ ในการรักษาโรค
3. 02:51 ทำไมคุณพ่อคุณแม่มักคิดว่า คุณหมอไม่จ่าย ยาฆ่าเชื้อ ยาปฏิชีวนะ แล้วลูกจะไม่หาย
4. 04:48 โรคและอาการอะไรบ้างที่เด็กสามารถหายได้โดยไม่ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ
5. 08:43 โรคและอาการอะไรบ้างที่ต้องเข้ารับการตรวจจากหมอและใช้ยาฆ่าเชื้อในการรักษา
6. 12:35 ปัญหาการดื้อ ยาฆ่าเชื้อ ยาปฏิชีวนะ และ แนวทางการแก้ไข ป้องกัน
หากคุณพ่อคุณแม่เห็นว่าคลิปนี้เป็นประโยชน์อย่าลืมกด like กด subscribe และกด share ข้อมูลดีๆแบบนี้ให้คนที่ท่านรักรู้กันด้วยนะค่ะ ขอบคุณค่ะ
หากมีข้อผิดพลาดประการใดสามารถติชมและแนะนำเข้ามาได้ตลอดเวลาค่ะ
Facebook : https://www.facebook.com/panthitaped หรือ search : คลินิกเด็กหมอปัณฑิตา ภูเก็ต Pediatric Clinic Doctor Panthita Phuket
Google : https://goo.gl/maps/ehy8sTB7aGP2 คลินิกเด็กหมอปัณฑิตา ภูเก็ต Pediatric Clinic Doctor Panthita Phuket
ยาฆ่าเชื้อ ยาปฏิชีวนะ ยาเด็ก

ยาฆ่าเชื้อ ยาปฏิชีวนะ ในเด็กใช้ผิดวิธีเสี่ยงดื้อยา Antibiotics use in Children

ยาแก้อักเสบกับยาฆ่าเชื้อ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร


ยาแก้อักเสบที่พูดกัน ส่วนมากมักจะหมายถึงยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งใช้รักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียเท่านั้น หากติดเชื้ออื่นเช่น ไวรัส ยาจะไม่สามารถรักษาได้ ยกตัวอย่าง คนไข้เจ็บคอ จาม มีน้ำมูก มีไข้ แพทย์ตรวจแล้วน่าจะเป็นจากไวรัส การที่คนไข้จะขอยาฆ่าเชื้อไม่ว่าจะเป็นกินหรือฉีดนั้น ไม่ได้ประโยชน์ใดๆทั้งสิ้น แถมอาจทำให้ในอนาคตหากไม่สบายจากแบคทีเรียจริงๆ อาจเป็นแบคทีเรียดื้อยาที่ไม่สามารถใช้ยาปกติรักษา จำเป็นต้องนอน รพ. เพื่อรับยาที่มีผลข้างเคียงสูงอีกด้วย
ส่วนยาแก้อักเสบในภาษาทางการแพทย์ จะเรียก Antiinflammatory drug คือยากลุ่มที่มุ่งเน้นไปในการลดการอักเสบ โดยไม่ได้สนใจว่าการอักเสบนั้นเกิดจากสาเหตุใด เช่น ยากลุ่ม Steroid ยากลุ่ม NSAID (NonSteroidal AntiInflammatory Drug เช่น Ibuprofen, mefenamic acid, diclofenac, celecoxib เป็นต้น)

ยาแก้อักเสบกับยาฆ่าเชื้อ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

อย่ามองข้าม การรับประทานยาที่ถูกวิธี


รายการพบหมอศิริราช เรื่อง อย่ามองข้าม การรับประทานยาที่ถูกวิธี โดย รศ.พญ. อุไรวรรณ พานิช ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

อย่ามองข้าม   การรับประทานยาที่ถูกวิธี

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆGENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment