รู้สู้โรค : การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างฉลาด (26 ธ.ค. 59) | ยา azithromycin

You are viewing this post: รู้สู้โรค : การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างฉลาด (26 ธ.ค. 59) | ยา azithromycin

รู้สู้โรค : การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างฉลาด (26 ธ.ค. 59)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

หากเป็นหวัด ท้องเสีย หรือมีแผลสดเล็กน้อย ต้องกินยาปฏิชีวนะหรือไม่ มาหาคำตอบกันกับคุณพุทธรัตน์ ขันอาษา เภสัชกร ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลศิริราช

ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : www.thaipbs.or.th/GooglePlus
LINE : @ThaiPBS
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS

รู้สู้โรค : การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างฉลาด (26 ธ.ค. 59)

ก่อนใช้ยากินวิตามินเอ หรือ แอคคิวเทน รักษาสิว ควรดูคลิปนี้ก่อน


การใช้ยาโรแอคิวเทน ในการรักษาสิว ดีจริงหรือไม่ ??
นพ.วิสิฏฐ ศรีสนิท
SVJ clinic
โรแอคคิวเทน คือยาอะไร ??
ชื่อสามัญของยาคือ isotretinoin เป็นกรดวิตามินเอ ชนิดหนึ่ง
มีชื่อการค้าหลากหลาย เช่น แอคคิวเทน แอคโนติน
ลักษณะเม็ดยาเป็น ลูกรักบี้
Isotretinoin เป็นยากินที่ใช้ในการรักษาสิวในกรณีที่เป็นอย่างรุนแรงเท่านั้น เพราะมันมีผลข้างเคียงต่อร่างกายมหาศาล ไม่คุ้มที่จะกินเพื่อรักษาสิวที่ไม่รุนแรง แต่ในปัจจุบันมีการนำยาชนิดนี้มารักษาสิวกันอย่างพร่ำเพรื่อ เกินความจำเป็น บ้างอวดอ้างสรรพคุณว่ากินครบโดสแล้วจะไม่เป็นสิวอีกเลย ตามประสบการณ์ของผู้เขียนพบว่า ไม่เป็นความจริง ทั้งยังทำให้การเห่อของสิวเมื่อขาดยาเป็นรุนแรงมากกว่าเดิม ดังนั้นผู้เขียนจึงเลิกใช้ยาชนิดนี้มารักษาคนไข้นานกว่า10ปีแล้ว
ผลข้างเคียงของ Isotrtinoin
1. ผมร่วง
2. ไม่สูง เพราะยาทำให้แกนกระดูกปิดตัวเร็วจึงต้องระมัดระวังในการให้ยาในเด็ก
3. ปากแห้ง ผิวหนังแห้ง ตาแห้ง จมูกแห้ง พบเกือบทุกราย หมอเคยพบคนไข้ที่ใส่คอนแทคเลนส์แล้วตาแห้งมากเกิดปัญหาการติดเชื้อตามมา
4. มีอาการเครียด ซึมเศร้า หดหู่ แนวโน้มการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น
5. ตับพัง ไขมันในเลือดสูง
6. เป็นเก๊าท์ จากยูริคที่สูงขึ้น

ก่อนใช้ยากินวิตามินเอ หรือ แอคคิวเทน รักษาสิว ควรดูคลิปนี้ก่อน

ยาแก้อักเสบกับยาฆ่าเชื้อ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร


ยาแก้อักเสบที่พูดกัน ส่วนมากมักจะหมายถึงยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งใช้รักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียเท่านั้น หากติดเชื้ออื่นเช่น ไวรัส ยาจะไม่สามารถรักษาได้ ยกตัวอย่าง คนไข้เจ็บคอ จาม มีน้ำมูก มีไข้ แพทย์ตรวจแล้วน่าจะเป็นจากไวรัส การที่คนไข้จะขอยาฆ่าเชื้อไม่ว่าจะเป็นกินหรือฉีดนั้น ไม่ได้ประโยชน์ใดๆทั้งสิ้น แถมอาจทำให้ในอนาคตหากไม่สบายจากแบคทีเรียจริงๆ อาจเป็นแบคทีเรียดื้อยาที่ไม่สามารถใช้ยาปกติรักษา จำเป็นต้องนอน รพ. เพื่อรับยาที่มีผลข้างเคียงสูงอีกด้วย
ส่วนยาแก้อักเสบในภาษาทางการแพทย์ จะเรียก Antiinflammatory drug คือยากลุ่มที่มุ่งเน้นไปในการลดการอักเสบ โดยไม่ได้สนใจว่าการอักเสบนั้นเกิดจากสาเหตุใด เช่น ยากลุ่ม Steroid ยากลุ่ม NSAID (NonSteroidal AntiInflammatory Drug เช่น Ibuprofen, mefenamic acid, diclofenac, celecoxib เป็นต้น)

ยาแก้อักเสบกับยาฆ่าเชื้อ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

ยาแก้อักเสบ กับยาฆ่าเชื้อ ใช้ต่างกันอย่างไร


คำว่าอักเสบทางการแพทย์ กับที่ประชาชนเข้าจะเหมือนกันไหม แล้วถ้ากินยาแก้อักเสบบ่อยๆแล้วจะเป็นอย่างไร ลองมาฟังดูกันค่ะ

ยาแก้อักเสบ กับยาฆ่าเชื้อ ใช้ต่างกันอย่างไร

สูตรยาคลอโรควิน และอะซิโทรมัยซินกับการรักษาโควิด-19 | ความจริง-โควิด | ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET


…บนสังคมออนไลน์มีการแชร์ข้อสงสัย เกี่ยวกับการใช้ยาคลอโรควิน ร่วมกับยา อะซิโทรมัยชิน ในการรักษาโรคโควิด19 หืม… ชัวร์เหรอ ?
ร่วมตรวจสอบข้อเท็จจริงไปกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ และ ผศ.นพ.พิสนธ์ จงตระกูล อาจารย์แพทย์ประจำภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตรวจสอบความจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

สรุป
Q : ยาคลอโรควิน ใช้รักษาผู้ป่วยโควิด19 ได้จริงหรือ ?
A : ยาคลอโรควิน และ ไฮดรอกซีคลอโรควิน เป็นยาที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยโควิด19 จริง ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข
Q : ยาคลอโรควินเมื่อใช้ร่วมกับยาอะซิโทรมัยซิน จะทำให้ผู้ป่วยหายเร็วขึ้น ?
A : มีงานวิจัยที่ประเทศฝรั่งเศสพบว่า การใช้ยาคลอโรควิน ร่วมกับ ยาอะซิโทรมัยซิน กับคนไข้ 6 คน ทำให้ไวรัสหาย 100% ภายในเวลา 56 วัน หาย ต่อมา USFDA ยินยอมให้แพทย์เป็นผู้ใช้แบบฉุกเฉินได้
Q : แต่มีอีกงานวิจัยที่ออกมาโต้แย้งงานวิจัยแรก ?
A : แพทย์ชาวฝรั่งเศสอีกกลุ่ม หาคำตอบซ้ำอีกครั้ง โดยนำคนไข้ 11 คน และให้ยาสูตรเดียวกัน ครบเวลา 56 วัน แต่จำนวนผู้ป่วยที่ไวรัสหมดไปมีเพียง 2 คนเท่านั้น ซึ่งไม่หาย 100% ตามงานวิจัยแรก
Q : การใช้ยาอะซิโทรมัยซินหรือ หยุดใช้ จะทำให้คนไข้เสียโอกาสในการรักษาไหม ?
A : ไม่ได้ทำให้ผู้ป่วยโควิด19 เสียโอกาสในการรักษาแต่อย่างใด
เพราะในการรักษาตั้งแต่ตั้น แพทย์ใช้ยามากกว่า 1 ขนาน มีการใช้ร่วมกับยาต้านเอชไอวีอยู่แล้ว ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาเองว่าจะใช้ยาตัวไหน
Q : คำแนะนำสำหรับประชาชน ?
A : ประชาชนอย่าหายามาลองเอง เพราะยาคลอโรควิน มีผลทำให้คลื่นหัวใจผิดปกติได้
CoronaVirusFacts COVID19 ชัวร์ก่อนแชร์ stayhome withme

พบกันทุกวันใน ข่าวค่ำ ช่อง 9 MCOT HD
✮ หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ \”ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์\” ✮
► แอดไลน์ (LINE) : @TNAMCOT หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40tnamcot
► เฟซบุ๊ก : https://www.facebook.com/SureAndShare
► ทวิตเตอร์ : https://www.twitter.com/SureAndShare
► อินสตาแกรม : https://instagram.com/SureAndShare
► เว็บไซต์ : https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.com

สูตรยาคลอโรควิน และอะซิโทรมัยซินกับการรักษาโควิด-19  | ความจริง-โควิด | ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment