วิธีโอนเงิน – จ่ายภาษีผ่านมือถือ (กรุงไทย NEXT) | เสีย ภาษี ผ่าน เน็ต

You are viewing this post: วิธีโอนเงิน – จ่ายภาษีผ่านมือถือ (กรุงไทย NEXT) | เสีย ภาษี ผ่าน เน็ต

วิธีโอนเงิน – จ่ายภาษีผ่านมือถือ (กรุงไทย NEXT)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

วิธีโอนเงิน จ่ายภาษีผ่านมือถือ สำหรับท่านที่ต้องจ่ายภาษีเพิ่มครับ โดยใช้แอพฯกรุงไทย NEXT
ภาษี,
ภงด 90/91,
ยื่นภาษีออนไลน์,
จ่ายภาษีผ่านมือถือ,

วิธีโอนเงิน - จ่ายภาษีผ่านมือถือ (กรุงไทย NEXT)

ร้านค้า บุคคลธรรมดา ยอดขายเท่าไหร่เริ่มเสียภาษี


ยอดขายเท่าไหร่เริ่มเสียภาษี

ร้านค้า บุคคลธรรมดา ยอดขายเท่าไหร่เริ่มเสียภาษี

ยื่นแบบภาษีผ่านเน็ต อยากได้ใบเสร็จที่ออกโดยกรมสรรพากร


การยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.1, ภ.ง.ด.3, ภ.ง.ด.53 หรือภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30 ที่ได้ทำการยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ตหรือออนไลน์แล้วชำระเงินผ่านช่องทางอื่นๆ ที่มิใช่สำนักงานสรรพากร เช่น ชำระผ่านเคาเตอร์เซอร์วิส ธนาคาร อินเตอร์เน็ตแบงค์กิ้ง ATM ฯ ผู้เสียภาษีจะได้รับใบเสร็จจากหน่วยงานที่รับชำระนั้นๆ
หลังจากชำระเงินแล้ว 3 วันทำการ ผู้เสียภาษีสามารถเข้าไปพิมพ์ใบเสร็จรับเงินที่ออกโดยกรมสรรพากรได้ และสามารถย้อนหลังได้ 2 ปี
======================================================
พูดคุยเกี่ยวกับเนื้อหาในคลิปนี้ได้ที่
Facebook : https://web.facebook.com/kalataxes

ยื่นแบบภาษีผ่านเน็ต อยากได้ใบเสร็จที่ออกโดยกรมสรรพากร

ยื่นภาษีออนไลน์ปี 2563 : Ep.5 : #ดอกเบี้ย และ #เงินปันผล หุ้น และ กองทุนรวม ยื่นภาษีอย่างไร


พบกับตอนที่ 5 ของคลิปสอนยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเตอร์เน็ตสำหรับปีภาษี 2563 โดยพรี่หนอม @TAXBugnoms เจ้าเก่าเจ้าเดิม เพิ่มเติมคือทำคลิปยื่นภาษีสอนทุกปีครับ
คลิปนี้จะเป็นการสอนยื่นภาษีที่ได้รับจากเงินลงทุน ไม่ว่าจะเป็น ดอกเบี้ย เงินปันผล หรือเงินได้ที่ได้รับสิทธิเลือกเสียภาษีแบบ Final TAX ว่ามีการยื่นภาษีแบบไหนอย่างไร แบบไหนต้องรวมยื่นภาษี แบบไหนต้องแยกยื่นภาษี และเราควรทำแบบไหน อธิบายตั้งแต่หลักการวางแผนจัดการภาษีตั้งแต่ต้นจนจบ ไปจนถึงเทคนิคในการยื่นภาษีโดยใช้ไฟล์จาก TSD ผ่านระบบที่ชื่อว่า Investor Portal ด้วยครับผม
ใครที่มี ดอกเบี้ย เงินปันผลจากกองทุนรวม เงินปันผลจากหุ้น เงินปันผลจากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน กองทุน REIT หรือ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ควรดูคลิปนี้ จะได้ยื่นภาษีได้อย่างถูกต้องครับผม
ยื่นภาษี ยื่นภาษีออนไลน์ ยื่นภาษีปี2563 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สรรพากร ความรูู้ภาษีขั้นพื้นฐาน TAXBugnoms วิธียื่นภาษีออนไลน์ ยื่นภาษีผ่านอินเตอร์เน็ต ภาษีเงินได้ ภาษี ยื่นภาษีผ่านเน็ต ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินปันผลหุ้น เงินปันผลกองทุนรวม ปันผล
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms​
Twitter : https://twitter.com/
TAXBugnoms​Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/​
Website : https://taxbugnoms.co/​
Tiktok : https://www.tiktok.com/@taxbugnoms

ยื่นภาษีออนไลน์ปี 2563 : Ep.5 : #ดอกเบี้ย และ #เงินปันผล หุ้น และ กองทุนรวม ยื่นภาษีอย่างไร

อวสานคนหนีภาษี ! เราจะเลี่ยงภาษีได้ยากขึ้นเพราะอะไร ?


จริงไหม? เราจะหนีภาษีกันยากขึ้น เพราะระบบการตรวจสอบที่เปลี่ยนไป และหลายอย่างที่กำลังเปลี่ยนแปลง ทั้งข้อกฎหมาย เทคโนโลยี รวมถึงอื่นๆ อีกมากมายวันนี้พรี่หนอมเลยมาชวนพูดคุยกันในคลิปนี้ครับ
เอาจริง ๆ แล้วตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา เชื่อว่าใครหลายคนจะได้เห็นเรื่องราวทำนองนี้ ไม่ว่าจะเป็น
1. แหล่งข้อมูลตรวจสอบการหลบหนีมีมากขึ้น ทั้งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ข้อมูลแจ้งเบาะแส และข้อมูลภายนอก ที่ช่วยให้การตรวจสอบคนหนีภาษีนั้นเข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ
2. ระบบการตรวจสอบที่เจ้มจ้นจนต้องร้อง ได้แก่..
ระบบ RBA + Big DATA = ระบบการตรวจสอบที่มีหลักเกณฑ์ตามความเสี่ยงของธุรกิจ เชื่อมโยงข้อมูล BIG DATA และรอการพัฒนาเป็น AI ในอนาคต ทำให้กรมสรรพากรมีข้อมูลและแนวทางการตรวจสอบที่เป็นระบบมากขึ้น
ระบบคัดเลือกราย = รายเสี่ยงต้องโดนกรมสรรพากรตรวจสอบมากขึ้น เพราะมีเกณฑ์ในการคัดเลือกอยู่
การจัดกลุ่มผู้ประกอบการ = กลุ่มดี หรือ กลุ่มเสี่ยง คือคำตอบของการจัดการด้านภาษีที่เข้มข้น เพราะถ้าธุรกิจหรือบุคคลไหนอยู่ในกลุ่มเสี่ยง ย่อมมีโอกาสเสี่ยงโดนตรวจสอบมากขึ้นเช่นกัน
3. EPayment คือการรุกหนักผลักเข้าสู่ระบบ คั้งแต่สังคมไร้เงินสดพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ EFiling การยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต รวมถึง ETAX invoice / EWitholding TAX การพัฒนาระบบทั้งสองส่วนนี้จะช่วยให้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบมากขึ้นเช่นกัน แม้ว่าจะอยู่ระหว่างพัฒนา แต่ก็น่าจะมาเรื่อยๆ ตามสไตล์
4. กฎหมายออกใหม่ ตั้งแต่กำหนดให้ ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร หรือ สรรพากรตรวจสอบข้อมูลบัญชีธนาคาร สำหรับธุรกรรมลักษณะเฉพาะที่เข้าเงื่อนไข ทำให้กรมสรรพากรมีข้อมูลในการวิเคราะห์ได้ดีขึ้น ไปจนถึงการตรวจสอบดอกเบี้ยออมทรัพย์ ภาษี eservice ที่กำหนดให้หน่วยงานต่างประเทศต้องนำส่งข้อมูลลูกค้าให้กับสรรพากร
แม้ประเด็นนี้จะยังเห็นไม่ชัดว่ามีผลกระทบด้านภาษีมากแค่ไหน แต่ถ้าลองมองเชื่อมโยงกันได้ก็จะเห็นว่า ข้อมูลธุรกรรมต่างๆ เริ่มมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตเรามากขึ้น นี่คือสิ่งที่ต้องติดตามต่อไปครับ
ป.ล. คลิปนี้ชวนพูดคุยในส่วนประเด็นข้อ 4 เพื้อให้เห็นภาพที่มีผลกระทบกับเราทุกคนครับ
สารบัญคลิป
00:00 Intro
00:50 ทำไมต้องอวสานคนหนีภาษี ?
01:30 ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร
05:27 ธนาคารส่งข้อมูลดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์
07:53 eService ภาษีมูลค่าเพิ่ม
09:26 ลองคิดดูว่า จะเกิดอะไรขึ้น ?
10:29 เราควรทำอย่างไรดี?
ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ ภาษีอีเซอร์วิส

อวสานคนหนีภาษี ! เราจะเลี่ยงภาษีได้ยากขึ้นเพราะอะไร ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆBUSINESS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: BUSINESS

Leave a Comment