เกร็ดความรู้คู่สุขภาพ | จุดเริ่มต้นของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ | แบบประเมินภาวะสมองเสื่อม

You are viewing this post: เกร็ดความรู้คู่สุขภาพ | จุดเริ่มต้นของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ | แบบประเมินภาวะสมองเสื่อม

เกร็ดความรู้คู่สุขภาพ | จุดเริ่มต้นของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย หรือ Mild cognitive impairment (MCI) เป็นภาวะที่ศักยภาพการทำงานของสมองลดลง ซึ่งเป็นสิ่งที่มาคู่กันกับในผู้สูงอายุ หากผู้ป่วยหมั่นสังเกตตัวเองและเข้ารับการรักษา จะสามารถช่วยป้องกันและชะลอการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุได้

เกร็ดความรู้คู่สุขภาพ | จุดเริ่มต้นของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ

รายการสุขภาพดีกับธนบุรี2 ตอน โรคสมองเสื่อม


ภาวะสมองเสื่อมเป็นความถดถอยในการทำงานของสมองซึ่งเกิดจากการสูญเสียเซลล์สมอง โดยเริ่มจากส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วจึงลุกลามไปยังสมองส่วนอื่น ๆ โดยที่ความเสื่อมถอยจะดำเนินอย่างช้า ๆ แบบค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งภาวะสมองเสื่อมเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ ภาวะสมองเสื่อมแบ่งได้เป็นสองประเภท ได้แก่ โรคสมองเสื่อมที่รักษาให้หายขาดได้ และโรคสมองเสื่อมที่รักษาไม่หายขาด หากต้องการสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม การทดสอบภาวะการจำ การหาปัจจัยเสี่ยงและแนวทางป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้ที่ศูนย์สมองและระบบประสาท รพ.ธนบุรี 2
เวลา 8.00 – 20.00น. เบอร์โทร 02 487 2100 ต่อ 1150,1151

รายการสุขภาพดีกับธนบุรี2 ตอน โรคสมองเสื่อม

การประเมินภาวะสมองเสื่อม ( Dementia Investigation ) รพ.ศิริราช


การวินิจฉัยสมองเสื่อม
การวินิจฉัยสมองเสื่อม จะอาศัยการตรวจร่างกายและตรวจสอบประวัติทางการแพทย์ของผู้ป่วย หากสงสัยว่ามีภาวะสมองเสื่อม แพทย์จะตรวจเพิ่มเติม ได้แก่ ตรวจสอบระบบประสาท ตรวจสอบสุขภาพทางจิต หรือการตรวจอื่น ๆ เช่น การตรวจเลือดและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตัวอย่างการตรวจของแพทย์ที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม ได้แก่
การตรวจสุขภาวะทางจิตแบบย่อ (MMSE) เป็นการทำแบบสอบถามเพื่อวัดความบกพร่องของสมรรถนะทางสมอง (Cognitive Impairment) ซึ่งอาจเป็นการประเมินเกี่ยวกับปัญหาเรื่องความจำเบื้องต้น การใช้ภาษา ความเข้าใจ หรือทักษะเกี่ยวกับเครื่องยนต์ หากได้ค่าที่ต่ำกว่า 23 จาก 30 คะแนน ถือว่ามีความผิดปกติทางสุขภาพจิต
การตรวจ MiniCog เป็นการตรวจเพื่อช่วยให้แพทย์วินิจฉัยสมองเสื่อมได้ โดยมี 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นแรกแพทย์จะให้คำ 3 คำ ผู้ป่วยต้องจำและตอบกลับแพทย์ในภายหลัง
ต่อมาแพทย์จะให้ผู้ป่วยวาดหน้าปัดนาฬิกาเพื่อบอกเวลาที่ถูกต้อง
ขั้นสุดท้ายแพทย์จะให้ผู้ป่วยบอกคำที่แพทย์ให้ไว้ในตอนแรก
การตรวจ Clinical Dementia Rating: CDR หากแพทย์วินิจัยว่ามีภาวะสมองเสื่อม แพทย์จะประเมิน CDR ซึ่งหมายถึงการประเมินความสามารถทางด้านความจำ การรู้จักบุคคล เวลา สถานที่ การตัดสินใจและการแก้ปัญหา การใช้ชีวิตและงานอดิเรก การเข้าสังคมและการดูแลตัวเอง โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
หากได้ค่าเป็น 0 แสดงว่าปกติ
หากได้ค่าเป็น 0.5 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมน้อยมาก
หากได้ค่าเป็น 1 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมเล็กน้อย
หากได้ค่าเป็น 2 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมปานกลาง
หากได้ค่าเป็น 3 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมรุนแรง
การสแกนสมอง
เพทสแกน (PET Scan) การถ่ายภาพทางรังสี ที่สามารถแสดงภาพรูปแบบการทำงานของสมอง เพื่อหาความผิดปกติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) หรือ MRI Scan เพื่อตรวจสอบโรคหลอดเลือดในสมอง เลือดออกในสมอง เนื้องอก หรือภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจเลือดจะช่วยตรวจสอบปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของสมอง เช่น การขาดวิตามิน บี 12 หรือภาวะขาดไทรอยด์ ในบางกรณีการตรวจดูน้ำไขสันหลังช่วยในการตรวจหาการติดเชื้อ การอักเสบ หรือระบุความบกพร่องที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้
การรักษาสมองเสื่อม สมองเสื่อมที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่จะช่วยไม่ให้อาการแย่ลง และทำให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น

การประเมินภาวะสมองเสื่อม ( Dementia Investigation ) รพ.ศิริราช

สาระดีศิริราช ตอน ผู้สูงอายุกับภาวะสมองเสื่อม


อัพเดตสาระดีๆ กิจกรรมและเรื่องราวที่น่าสนใจจากรั้วศิริราช ให้แก่ชาวศิริราชรวมถึงผู้ใช้บริการ

สาระดีศิริราช ตอน ผู้สูงอายุกับภาวะสมองเสื่อม

โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ | Re-Mind : อารมณ์ ความคิด พฤติกรรม [Mahidol Channel]


หากสังเกตเห็นญาติพี่น้อง ผู้ใหญ่ที่บ้านหรือคนใกล้ชิดเริ่มมีอาการจำอะไรไม่ได้ หลง ๆ ลืม ๆ นั่นอาจเป็นสัญญาณบ่งบอกถึง “โรคสมองเสื่อม” โรคที่พบได้ในผู้สูงอายุ แล้วเราจะรับมือกับโรคนี้อย่างไรในสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุเกิดจากสาเหตุอะไร อาการเป็นอย่างไร และเราจะมีวิธีดูแลและรักษาอาการได้อย่างไรบ้าง
อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน แพทย์และอาจารย์ประจำสาขาจิตเวชศาสตร์ทั่วไป ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล จะมาให้ข้อมูลในหลากหลายแง่มุมเพื่อสร้างความเข้าใจและเรียนรู้วิธีป้องกันโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ติดตามได้ในรายการ REMIND
ตอน โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ReMind MahidolChannel
เนื้อหาในคลิป
00:01 โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
00:10 อาการของโรคสมองเสื่อม
02:19 ความแตกต่างของขี้ลืมกับโรคสมองเสื่อม
02:54 สาเหตุของโรคสมองเสื่อม
03:45 การวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ป่วยสมองเสื่อม
––––––––––––––––––––
ติดตามช่องทางใหม่ของ Mahidol Channel
ผ่าน LINE Official Account ได้แล้ววันนี้!
เพียงกดที่ลิงค์ https://lin.ee/d4KkmOg
หรือกดเพิ่มเพื่อน แล้วพิมพ์ @mahidolchannel ที่ช่องค้นหาของแอปพลิเคชัน LINE
––––––––––––––––––––
ช่อง YouTube : Mahidol Channel : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook: http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล: https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | http://www.si.mahidol.ac.th/th/

โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ | Re-Mind : อารมณ์ ความคิด พฤติกรรม [Mahidol Channel]

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆGENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment