โรคโลหิตจาง(ขาดธาตุเหล็ก) | deferiprone คือ

You are viewing this post: โรคโลหิตจาง(ขาดธาตุเหล็ก) | deferiprone คือ

โรคโลหิตจาง(ขาดธาตุเหล็ก)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

รายการหนี้แผ่นดิน สุขภาพดีกับพรีม่า ช่วง \”ครบเครื่องเรื่องสุขภาพ\”
ตอน โรคโลหิตจาง(ขาดธาตุเหล็ก)
โดย รศ.นพ.อิศรางค์ นุชประยูร ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โรคโลหิตจาง(ขาดธาตุเหล็ก)

EP. 16 โรคทางพันธุกรรมธาลัสซีเมีย| Thalassemia


โรคทางพันธุกรรมที่คนไทยเป็นกันมากคือโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย. โดยพบพาหะของธาลัสซีเมียหรือผู้ที่มียีนธาลัสซีเมียแฝงชนิดใดชนิดหนึ่ง ถึงร้อยละ 3540และพบผู้ป่วยที่เป็นโรคประมาณร้อยละ 1 ของประชากรไทย.
ธาลัสซีเมียเป็นโรคโลหิตจางที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ซึ่งถ่ายทอดแบบยีนด้อย (autosomal recessive) เกิดจากโปรตีนโกลบินซึ่งเป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงสังเคราะห์ได้น้อยลงหรือผิดปกติส่งผลให้เม็ดเลือดมีอายุสั้นและแตกง่าย
ใน 1 ปีจะมีเด็กเกิดใหม่ที่เป็นโรคธาลัสซีเมียประมาณ1หมื่นคนโดยมีคู่สามีภรรยาที่เสี่ยงต่อการมีลูกเป็นโรคประมาณ5หมื่นคู่
ธาลัสซีเมียแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆที่สาคัญ 2 กลุ่มคือ
1.กลุ่มแอลฟ่าธาลัสซีเมียมีหลายชนิด เช่น แอลฟ่าธาลัสซีเมีย1(Alfathalassemia1),แอลฟ่า ธาลัสซีเมีย 2 (Alfathalassemia2), ฮีโมโกลบินคอนสแตนท์สปริง (Hb Constant Spring)
2. กลุ่มเบต้าธาลัสซีเมีย ได้แก่ เบต้าธาลัสซีเมีย ( Betathalassemia) และ ฮีโมโกลบนิ อี (Hb E)
อาการของผู้ป่วยธาลัสซีเมียมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับชนิดของโรคธาลัสซีเมียที่ผู้ป่วยเป็น
บางรายไม่มีอาการซีดหรือมีอาการซีดเพียงเล็กน้อยซึ่งไม่มีผลต่อการดำรงชีวิต แต่บางรายมีอาการรุนแรง โดยจะมีอาการซีด. ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับ ม้ามโต รูปหน้าเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตผิดปกติได้.
ผู้ที่ป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดที่รุนแรงมากจะมีอาการบวมน้ำ. หัวใจวาย มีภาวะซีดมากเนื่องจากเซลล์เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและทำให้เสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือภายหลังคลอดไม่นาน. ผู้ที่เป็นพาหะจะเสี่ยงต่อการมีลูกเป็นโรคถ้าแต่งงานกับผู้ที่เป็นพาหะของยีนธาลัสซีเมียกลุ่มเดียวกัน แต่ถ้าแต่งงานกับผู้ที่มียีนคนละกลุ่มกันหรือผู้ที่มียีนปรกติจะไม่เสี่ยงต่อการมีลูกเป็นโรค.
การตรวจคัดกรองหาพาหะของธาลัสซีเมียจึงมีความสาคัญที่จะบอกอัตราเสี่ยงและหนทางเลือก เพื่อจะหลีกเลี่ยงการมีลูกเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงเท่านั้น

Intohealth ขอชื่นชมคณะแพทยศาสตร์ศิริราชและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่เผยแพร่ข้อมูลความรู้ที่มีประโยชน์. เพื่อให้ประชาชนตระหนักรู้ถึงโรคธาลัสซีเมีย. และบุคคลสำคัญที่ทำให้โรคโลหิตจางในประเทศไทยกระจ่างมากขึ้น. ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี ผู้ค้นพบกลไกทางพันธุศาสตร์ของโรคแอลฟ่าธาลัสซีเมีย โดยพบว่ามียีนแอลฟ่าธาลัสซีเมียสองชนิด และได้ให้ชื่อว่า แอลฟ่าธาลัสซีเมีย 1 และแอลฟ่าธาลัสซีเมีย 2
งานวิจัยชิ้นนี้เป็นที่ยอมรับและยกย่องของวงการวิทยาศาสตร์ทั่วโลก เพราะเป็นการช่วยสร้างพื้นฐานความเข้าใจ ผลงานท่านได้รับการตีพิมพ์ ทั้งในและต่างประเทศ และได้รับเชิญไปเป็นที่ปรึกษาการวิจัยขององค์การอนามัยโลก และเป็นวิทยากรบรรยายยังสถาบันต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ
จากผลงานการทำงานอย่างมุ่งมั่นถึงความสำคัญของโรคที่จะมีผลกระทบต่างๆ มากมายที่จะตามมานายแพทย์ประเวศได้มุ่งมั่นทุ่มเททั้งกำลังกายและใจจนเป็นที่ยอมรับของทุกหน่วยงานจนได้รับรางวัลแมกไซไซ และการคัดเลือกให้เป็นนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น จากสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ.2526
ติดตามIntohealth Podcast ได้ทุกเช้าวันอาทิตย์ ตามช่องทางต่างๆ
YouTube: https://www.youtube.com/channel/UCFQyH8FAWJCyyFTiPRhF1Xw
Instagram: Intohealth_th
Soundcloud
Spotify

ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก
http://www.neutron.rmutphysics.com/sciencenews/index.php?option=com_content\u0026task=view\u0026id=1555\u0026Itemid=4
https://www.phyathai.com/article_detail/3208/th/โลหิตจางธาลัสซีเมีย_โรคทางพันธุกรรมที่ไม่ควรมองข้าม
http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_nih/a_nih_1_001c.asp?info_id=403
http://www.thaipediatrics.org/Media/media20161218145515.pdf
https://www.dailynews.co.th/article/692456
http://www.tsh.or.th/file_upload/files/09(4).pdf
http://tsh.or.th/Knowledge/Details/25

EP. 16  โรคทางพันธุกรรมธาลัสซีเมีย| Thalassemia

Doctor Tips ตอน ผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียห้ามกินธาตุเหล็กจริงหรือ?


ทิปส์สั้นๆ เกร็ดความรู้สุขภาพจากหมอศิริราช ดูง่ายได้สาระ

Doctor Tips ตอน ผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียห้ามกินธาตุเหล็กจริงหรือ?

การวินิจฉัยผู้ป่วยธาลัสซีเมียตอนที่ 1 (how to diagnosed thalassemia part 1)/nisa hematoswu


การวินิจฉัยผู้ป่วยธาลัสซีเมียตอนที่ 1 (how to diagnosed thalassemia part 1)/nisa hematoswu

Thalassemia – small group case 1 summary by Firststarsitta


คลิปวิดีโอสรุป
การเรียน Small group case 1
Hematology kku md47
โดย Firststarsitta
เอกสารประกอบการสอน
https://drive.google.com/file/d/1uQKMKXdb73A8r_B1lu2ENaUZi1vG4T4G/view?usp=drivesdk

Thalassemia - small group case 1 summary by Firststarsitta

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment