Kaizen ปรับปรุงไม่ต้องยกเทน้ำ | ตัวอย่าง ไค เซ็น ออฟฟิศ

You are viewing this post: Kaizen ปรับปรุงไม่ต้องยกเทน้ำ | ตัวอย่าง ไค เซ็น ออฟฟิศ

Kaizen ปรับปรุงไม่ต้องยกเทน้ำ

 

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Kaizen ปรับปรุงไม่ต้องยกเทน้ำ

เกร็ดความรู้คู่ออฟฟิต | EP.30 Kaizen เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาการทำงาน | instant knowledge

 

ขอบคุณทุกท่านที่ติดตามรับชมคลิปของ Instant knowledge หวังว่าการทำคลิปนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อการทำงานของเพื่อนๆไม่มากก็น้อย จุดประสงค์ของการทำคลิปของดิ๊ฟ คืออยากให้เพื่อนๆ มีความสุขกับการทำระบบ ทำกิจกรรมในองค์กรของท่าน ด้วยความเข้าใจ
ฝากติดตามช่องทางเพิ่มเติม ทาง facebook fanpage https://www.facebook.com/instantknowledgeofficial/
Line @  @instantknowledgeofficial
ยินดีจัดอบรมสัมมนา แบบรูปแบบใหม่ อบรมด้วยความสุข เสียงหัวเราะ และได้ผลงานไปใช้จริงๆ ทั้งในส่วนของ ISO9001 , IATF16949 , core tools , ISO14001 , ISO45001 , Internal audit , 5ส , QCC , TPM , cost reduction etc. Learn \u0026 Plearn Training for ISO and other activity
ติดต่อเบอร์ 0828255353 (เลขา)
อย่าลืมกดติดตาม กดกระดิ่งเพื่อไม่พลาดข้อมูลดีๆนะคะ
===========================
===========================
เมื่อคุณกำลังมองหา
วิทยากรสายฮา
วิทยากร พูดบรรยาย ได้ น่าฟัง
วิทยากรตลก
วิทยากรพูดน่าฟังมาก
คิดถึงดิ๊ฟ
สนใจติดต่ออบรม อบรม ออนไลน์ การฝึกอบรมหลักสูตรเพื่อการพัฒนาองค์กร อบรม หัวหน้างาน อบรม เอ็นเทรนนิ่ง อบรม สัมมนา ในรูปที่ไม่น่าเบื่อผ่านการกระตุ้นให้เรียนรู้ด้วยกิจกรรม
iso 9001 version 2015 ไทย
iso 14001 version 2015 ไทย
iatf 16949 คืออะไร
iatf 16949 vs iso9001
iatf 16949 core tools
iso 45001 version 2018 ( iso 45001 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย)
iso 17025 version 2017
internal audit iso 9001 version 2015 ( ตรวจติดตามภายใน iso 9001 )
internal audit iso 14001
gmp haccp
ประเมินความเสี่ยง iso 9001
ประเมินความเสี่ยง iso 45001
ประเมินความเสี่ยง 17025
ดัชนีชี้วัด kpi key performance indicator
ประเมิน aspect 14001
บริบทองค์กร
core tools iatf 16949 มีอะไรบ้าง
apqp automotive
fmea vda training
control plan
ppap
spc คืออะไร
msa training
swot analysis คือ
qc 7 tools
kaizen games for training
kaizen โรงงานอุตสาหกรรม
action plan ทำอย่างไร
lean คือ
bsc คือ
risk assessment iso 9001
การควบคุมเอกสารในระบบการจัดการ (document control)
why why analysis ตัวอย่าง
qcc training
iso 13485 ภาษาไทย
5 ส ในโรงงาน
tpm total productive maintenance
csr คือ
corrective action and preventive action
การจัดการความรู้ (knowledge management)
การจัดการคุณภาพ
การจัดการความเสี่ยง
จิตสำนึกคุณภาพ
จิตสำนึกความปลอดภัย
vda6.3 process audit
มาตรฐาน iso คืออะไร
okr คืออะไร
okr vs kpi
train the trainer
ความสูญเสีย 7 ประการ
8d report training
ช่องทางการติดต่อ inhouse training , online training หรืองานที่ปรึกษา สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ที่ [email protected] หรือ โทร 0828255353

เกร็ดความรู้คู่ออฟฟิต | EP.30 Kaizen เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาการทำงาน | instant knowledge

Clip Kaizen Office

 

Clip Kaizen Office

Kaizen(ไคเซน)คืออะไร? มาทำ(Kaizen) ไคเซน ที่บ้านกัน EP.2

 

Kaizen(ไคเซน)คือแนวคิดหรือเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการปรับปรุงขั้นตอนการทำงาน ปรับปรุงกิจวัตรประจำวันให้ดียิ่งขึ้น ง่ายขึ้นกว่าเดิม ลดความสับสน ลดความผิดพลาด สามารถชี้วัดได้ด้วยผลลัพธ์ในเชิงตัวเลขต่างๆ เชิงคุณภาพ ก่อนจะทำ Kaizen เรื่องไหน ต้องยอมรับว่ามีปัญหา ตัวอย่างปัญหา เช่น ใช้เวลานาน รอนาน ลืม ผิดพลาด เกิดของเสีย ไม่เป็นระเบียบ หายาก ใช้เงินมาก อันตราย เป็นต้น แล้วเริ่มมาทบทวนวิธีการตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ ว่ามีวิธีการใด ที่ลดได้บ้าง เลิกทำได้บ้าง หรือเปลี่ยนวิธีหรือเปลี่ยนวัสดุได้บ้าง แล้วคาดว่าจะทำให้ผลลัพธ์ดีขึ้นกว่าเดิม จากนั้นก็ตั้งเป้าหมาย แล้วไปลงมือทำกันเลยครับ จากนั้นก็วัดผล ถึงแม้ว่าผลลัพธ์จะไม่ได้ตามเป้าที่ตั้งไว้ แต่ดีขึ้นกว่าเดิมก็ถือว่าเป็นการทำ Kaizen แล้วครับ ซึ่งการทำ Kaizen ในคลิปนี้ จะยกตัวอย่างกิจวัตรประจำวันที่บ้านของผมเองเป็นตัวอย่างให้ดูเพลินๆ ครับ นอกจากแนวคิด ลด เลิก เปลี่ยน ที่ช่วยในการทำ Kaizen แล้ว ยังมีเครื่องมือ แผนภูมิก้างปลา ,ECRS การกำจัด การรวม การจัดใหม่ การทำให้ง่ายขึ้น เป็นต้น จังหวะชีวิตbykob ,ไคเซน ,Kaizen,ไคเซ็นคืออะไร

Kaizen(ไคเซน)คืออะไร? มาทำ(Kaizen) ไคเซน ที่บ้านกัน EP.2

ไคเซ็นชมเชย – รณชัย แสงสิงห์ – ลดความเสี่ยงและอุบัติเหตุสินค้าหล่นจากพาเลท

 

ไคเซ็นชมเชย ปี 2562

ไคเซ็นชมเชย - รณชัย แสงสิงห์ - ลดความเสี่ยงและอุบัติเหตุสินค้าหล่นจากพาเลท

ไคเซ็นในสำนักงาน : กำจัดความสูญเปล่าในองค์กรอย่างรอบด้านด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานรอบโต๊ะ

หากคุณตกอยู่ในสภาพเช่นนี้
– หาเอกสารที่ต้องการใช้ไม่พบโดยเฉพาะเวลาที่เร่งรีบ
– แม้โต๊ะทำงานจะเรียบร้อย แต่ก็เปลี่ยนเป็นรกรุงรังในเวลาอันรวดเร็ว
– มีงานแทรกมากจนวางแผนการทำงานไม่ได้
– ช่วงปลายเดือน-ต้นเดือนมักต้องทำงานล่วงเวลา (Over Time)
– ยุ่งจนไม่มีเวลาพัก
– ความร่วมมือภายในฝ่ายหรือแผนกไม่ราบรื่น
ฯลฯ

ตัวอย่างข้างต้นเป็นสัญญาณบอกให้รู้ว่า การทำงานของคุณมีความสูญเปล่าแอบแฝงอยู่ นอกจากจะทำงานเสร็จไม่ทันตามกำหนดแล้ว ความกดดันจากการทำงานยังเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และอาจทำให้ตัวคุณและเพื่อนร่วมงานต้องทำงานล่วงเวลาอีกด้วย

มากำจัดความสูญเปล่าของงานประจำวันในองค์กรอย่างรอบด้าน
ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานรอบโต๊ะไปกับหนังสือ
“ไคเซ็นในสำนักงาน” เล่มนี้กันนะคะ

ไคเซ็นในสำนักงาน
โดย : MIHOYO FUJII
แปลและเรียบเรียงโดย : ดร. สุลภัส เครือกาญจนา
หนา 208 หน้า

“ไคเซ็นในสำนักงาน” เล่มนี้ นำเสนอวิธีปรับปรุง (ไคเซ็น) งานในสำนักงานอย่างรอบด้าน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ช่วยให้สื่อสารกับกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างราบรื่น และลดความสูญเปล่าในองค์กร ทำงานเสร็จทันกำหนดโดยไม่ต้องทำงานล่วงเวลา นำไปสู่ความสมดุลในชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัวในที่สุด ผลงานโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาไคเซ็นงานธุรการให้กับองค์กรต่าง ๆ ในญี่ปุ่นกว่า 800 แห่ง

เนื้อหาของหนังสือทั้ง 6 บทมีดังนี้ค่ะ

1. ทำไคเซ็นเปลี่ยนรอบโต๊ะทำงานให้เป็นฐานยุทธศาสตร์
นำเสนอวิธีทำไคเซ็นเพื่อเปลี่ยนโต๊ะทำงานซึ่งเป็นเหมือนแนวหน้าของสนามรบให้เป็นฐานที่มั่นที่พร้อมรับมือกับงานต่าง ๆ ที่จะเข้ามาในแต่ละวัน เช่น การกำหนดตำแหน่งและสิ่งของที่ควรจะวางบนโต๊ะและในลิ้นชัก เพื่อให้หยิบออกมาใช้ได้ทันที

2. ทำไคเซ็น “เพิ่มพลังแผนการทำงาน” ให้งานรุดหน้า
กล่าวถึงวิธีทำไคเซ็นโดยใช้การวางแผนการทำงานช่วยให้บริหารเวลาได้ลงตัวและกำจัดการทำงานล่วงเวลาให้หมดไป เช่น วางแผนงานก่อนที่จะลงมือทำงานในแต่ละวัน เพื่อให้ทำงานเสร็จทันเวลา ไม่ใช่ทำไปอย่างเรื่อยเปื่อย สำหรับคนที่งานยุ่งมาก ก็ควรใส่เวลาพักเบรกลงไปด้วยเพื่อให้ร่างกายและจิตใจได้ผ่อนคลาย

3. ทำไคเซ็นงานประจำวัน (Routine Work) ที่เต็มไปด้วยความสูญเปล่า
งานที่คุณกำลังทำอยู่ที่ดูเหมือนเป็นเรื่องปกตินั้นจำเป็นจริงหรือไม่ มีขั้นตอนใดบ้างที่พอจะลดหรือเลิกเพื่อให้งานเสร็จเร็วขึ้นหรือช่วยลดค่าใช้จ่าย หรือการรับมือกับงานแทรกจากคนรอบข้างก็ช่วยลดความสูญเปล่าได้เช่นกัน เช่น ทั้ง ๆ ที่ตั้งใจจะทำงานชิ้นนี้ให้เสร็จก่อนเที่ยง แต่หัวหน้าให้งานใหม่แทรกเข้ามา งานที่ทำอยู่จึงเสร็จไม่ทันเวลาที่กำหนดไว้ วิธีการไคเซ็นเพื่อลดปัญหานี้ก็คือ ติดแผนการทำงานไว้ที่บอร์ดของแผนก เพื่อให้หัวหน้ารับรู้แผนการทำงานของเราด้วย

4.ทำไคเซ็นกำจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นรอบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มีฟังก์ชันหรือโปรแกรมต่าง ๆ ที่ช่วยให้เราทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การใช้ Template (แม่แบบ) ช่วยในการจัดการเอกสาร หรือการเปลี่ยนจากการใช้เมาส์มาเป็นการใช้ Shortcut Key บนคีย์บอร์ด จะช่วยลดเวลาการทำงานลงได้มาก

5.ทำไคเซ็นกำจัดความสูญเปล่าของการสื่อสาร
การสื่อสารหรือประสานงานกับคนรอบข้างที่ไม่ราบรื่นทำให้เกิดความสูญเปล่าขึ้น การทำไคเซ็นช่วยคุณแก้ปัญหาการสื่อสารได้ เช่น หากฟังคำสั่งของหัวหน้าแล้วไม่เข้าใจ ให้ใช้หลักการตั้งคำถามถึงรายละเอียด 4 เรื่อง ดังนี้ (1) ความเป็นมาของงาน (2) กำหนดเวลาส่งงาน (3) จุดมุ่งหมายของงาน (4) รูปแบบหรือวิธีการทำงาน

6.ทำไคเซ็นกำจัดความสูญเปล่าขององค์กร
กิจกรรมต่าง ๆ ในสำนักงานมีความสูญเปล่าเกิดขึ้นมากมาย เช่น ความสูญเปล่าของพื้นที่ที่เกิดจากสิ่งของประเภทเดียวกันอยู่กระจัดกระจายหลายแห่ง ซึ่งสามารถกำจัดให้หมดไปได้ด้วยกิจกรรม 5 ส (สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสร้างนิสัย) หรือถ้ามอบหมายงานด้วยปากเปล่าเพียงอย่างเดียว อาจทำให้ข้อมูลผิดเพี้ยนหรืออาจจะพูดไปคนละเรื่อง ก็ควรจัดทำคู่มือในการทำงานเพื่อถ่ายทอดข้อมูลไปยังผู้รับได้อย่างถูกต้อง

ต่อไปมาดูตัวอย่างการทำไคเซ็นในสำนักงานกันสัก 2 เรื่องค่ะ

1.เติมเต็มชีวิตด้วยงานที่เป็นไปตามแผน
สมองของคนเราจะทำงานได้ดีในช่วงเช้ามากกว่าช่วงบ่าย หากเราทำงานประจำวัน (Routine Work) ในช่วงเช้า แล้วไปทำงานที่ใช้ความคิด (Knowledge Work) ในช่วงบ่ายเพื่อสร้างสรรค์งานดี ๆ โดยใช้สมองทำงานอย่างหนัก ประสิทธิภาพการทำงานจะไม่เพิ่มขึ้นอย่างที่คิดและอาจจะต้องทำงานล่วงเวลาในที่สุด

ดังนั้นควรจัดงานแต่ละประเภทลงในแผนงานให้เหมาะสม โดยจัดให้เริ่มทำงานที่ใช้ความคิดในช่วง 2 ชั่วโมง ตั้งแต่ 9 โมงเช้าและทำงานประจำวันตั้งแต่บ่าย 2 โมง-4 โมงเย็น สำหรับคนที่มีงานแทรกมาก ก็ควรเผื่อเวลาไว้สำหรับทำงานแทรกเหล่านั้นด้วย โดยดูจากการทำงานที่ผ่านมาว่างานแทรกมักจะเข้ามาในช่วงวันไหนและเวลาใด และที่สำคัญ เมื่อกำหนดแผนงานแล้ว ก็ต้องพยายามทำงานให้เสร็จตามแผนด้วย เพื่อกำจัดงานล่วงเวลาให้หมดไป

2. ถ้ากำหนดเวลาเลิกไว้ ก็จะกระตุ้นให้เกิดพลังได้ง่าย
การประชุมขององค์กรส่วนใหญ่มีความสูญเปล่าเกิดขึ้นมากมาย เช่น การประชุมที่ยืดเยื้อหลายชั่วโมงแถมยังหาข้อสรุปไม่ได้นั้นเป็นการใช้ต้นทุนที่สูญเปล่า เนื่องจากองค์กรต้องจ่ายเงินเดือนสำหรับเวลาที่ใช้ไปกับการประชุมที่ยืดเยื้อด้วย ถ้าคำนวณรายได้เป็นชั่วโมงของผู้เข้าร่วมประชุมแล้ว จะพบว่าองค์กรเสียค่าใช้จ่ายมหาศาล ดังนั้นจึงควรจัดประชุมในช่วงเช้า เพราะถ้าหากประชุมในช่วงเย็นจะทำให้รู้สึกว่าไม่ต้องกังวลกับสิ่งที่ต้องทำหลังจากนั้น จึงทำให้การประชุมยืดเยื้อได้ง่าย

นอกจากนี้หากจัดประชุมในช่วงเช้า สมองจะปลอดโปร่งและเกิดไอเดียดี ๆ ออกมาได้ง่าย ยิ่งไปกว่านั้นถ้ากำหนดเวลาเลิกประชุมไว้ จะกระตุ้นให้เกิดการหารือเพื่อหาข้อสรุปได้รวดเร็วยิ่งขึ้น และอาจให้คนที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุมโทรเข้ามาแจ้งว่า “อีกประมาณ 10 นาทีจะถึงเวลาเลิกประชุม” เป็นต้น

เห็นไหมคะว่า งานในสำนักงานที่ทำอยู่เป็นประจำนั้นมีความสูญเปล่าแอบแฝงอยู่มากมาย แต่ไม่ใช่เรื่องยากที่จะแก้ไข หากนำวิธีการทำไคเซ็นในหนังสือเล่มนี้ไปใช้

แล้วผลที่ได้จะสะสมกันเป็นผลลัพธ์ที่ยิ่งใหญ่ !!! ซึ่งทำให้พนักงานทำงานอย่างมีความสุข มีประสิทธิภาพ และลดความสูญเปล่าขององค์กรได้ในที่สุด 

ไคเซ็นชมเชย – อุราวรรณ สุขดี – ลดการทำงานซ้ำซ้อน

ตัวอย่างไคเซ็น ไอเดียทำไคเซ็น ในแนวทางของคนญี่ปุ่น (Idea KAIZEN)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆGENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment