You are viewing this post: Dementia and MCI – สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ | dementia คือ
Table of Contents
Dementia and MCI – สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ติดตามข้อมูลข่าวสารและความรู้เพิ่มเติมได้ที่ http://agingthai.dms.go.th
Facebook : Institute of Geriatric Medicine, DMS, MOPH, Thailand.
Common Co-morbid Diseases in Older Patients with Dementia – สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
ติดตามข้อมูลข่าวสารและความรู้เพิ่มเติมได้ที่ http://agingthai.dms.go.th
Facebook : Institute of Geriatric Medicine, DMS, MOPH, Thailand.
ปัจจัยเสี่ยง ต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม / Risk factors for dementia
ปัจจัยเสี่ยง ต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม
มีเหตุปัจจัยหลายอย่าง ที่ทำให้คนเราเกิดภาวะสมองเสื่อม
ซึ่งมีทั้งชนิดที่ไม่สามารถทำอะไรได้ กับชนิดที่เราสามารถป้องกันได้ เช่น
ปัจจัยที่เราไม่มารรถเปลี่ยนแปลงได้:
อายุ…โดยเฉพาะอายุหลังวัย 65
อย่างไรก็ตาม ภาวะสมองเสื่อม ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของชีวิตที่ย่างเข้าสู่ความชราภาพ และ สามารถเกิดในคนอายุน้อยได้
ประวัติครอบครัว การที่ใครก็ตามมีประวัติครอบครัวเกิดเป็นโรคสมองเสื่อม เขาผู้นั้นมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อได้สูง
กลุ่มอาการ ดาวน์ เป็นโรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากการมีโครโมโซม 21 เกินมาทั้งอัน หรือบางสวน คนที่เป็นโรคชนิดนี้ พออย่างเช้าสู่วัยกลางคน จะเกิดโรคสมองเสื่อมชนิด AD
นอกเหนือจากนี่ มีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่เราสามารถควบคุมได้ เช่น
อาหาร และการออกกำลังกาย:
ผลการของกาวิจัยพบว่า การไม่ออกกำลังกาย เพื่อความเสี่ยงต่อการเกิดสมองเสื่อม และไม่มีอาหารเฉพาะที่สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะดังกล่าว
แต่ผลการวิจัยรายงานว่า อาการที่ไร้คุณค่า
มีความเสี่ยงสู่ต่อการเกิดโรคได้ เมื่อเปรียบกับอาหารที่ให้ประโยชน์ เช่น ผัก ผลไม่ ธัญพืชเต็มเม็ด ถั่ว เนื้อสัตว์ปีก
ดื่มจัด..
การดื่มจัด อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดสมองเสื่อม แต่ในขณะเดียวกัน มีผลของการศึกษาบางชนิด ชี้ว่าการดื่มในระดับพอปริมาณ อาจป้องกันไม่ให้เกิดโรคสมองเสื่อม…แต่ก็มีคนโต้แย้งเรื่องดังกล่าว
ปัจจัยทำให้เกิดโรคเส้นเลือด และหัวใจ เช่น โรคความดันโลหิตสูง, ไขมัน cholesterol สูง, มีคราบไขมันในผนังของเส้นเลือดแดง และคนอื่น…
ปัจจัยเหล่านี้ ต่างทำให้เกิดโรคหัวใจ และทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อมได้
ภาวะซึมเศร้า: เรายังไม่ทราบได้ว่า ทำไม คนที่สมตกอยู่ภายใต้ภาวะซึมเศร้าเรื้อรัง จึงเกิดภาวะสมองเสื่อมตอนแก่ตัว
คนเป็นโรคเบาหวาน โดยเฉพาะในรายที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้ดี
สูบบุหรี: การสูบบุหรี่ อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อ และโรคเส้นเกี่ยวกับเส้นเลือดได้
โรคหยุดหายใจ เป็นระยะในขณะนอนหลับ…พบว่า พวกนอนโกรน เมื่อรักษาให้หายแล้ว สามารถทำให้อาการหลงลืมหายได้
ประการสุดท้าย การขาดสารไวตามิน และสารอาหาร…
เช่น ไวตามิน D ไวตามิน B 6, 12 และ Folate อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสมองเสื่อได้…
เกี่ยวกับเรื่องนี้ ผมอาจนำเสนอผลงานชิ้นหนึ่ง ที่บอกว่า การกินไข่ทุกวัน อาจทำให้ความจำของคนเราดีขึ้นได้
การกินไข่ สามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได้จริงหรือ ? / Eggs and Dementia
การกินไข่ สามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได้จริงหรือ ?
โรคอัลไซเมอร์ เป็นโรคที่ทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อม ที่พบได้มากที่สุด โดยพบได้ 60 – 80% ของกลุ่มโรคที่ทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อม เมื่อมันเกิดขึ้นแล้ว ไม่มีทางรักษาหายขาด มีแต่เลวลง…แต่
เมื่อไม่นานมานี้…
มีรายงานชิ้นหนึ่งรายงานออกมาว่า การกินไขทุกวัน สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสมองเสื่อมลงได้
เกือบถึง 30 %
นั้นเป็นผลการวิจัย ของนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย Eastern Finland ได้ทำการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหว่าง ไข่ และภาวะสมองเสื่อม โดยทำการศึกษาในคน
วัยกลางคน จำนวน 2,500 คน ให้กินไข่วันละ 2 – 3 ฟอง
ผลจากการศึกษา พบว่า
คนกินไข้สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมลงได้ถึง 28% เมื่อเปรียบเทียบกับคนไม่กินไข่
ไม่เพียงเท่านั้น ผลของการทดสอบคนกนไข่ ยังมีความคิดความอ่าน และทักษะในด้านภาษาดีขึ้นมาก
จากผลของการศึกษา เขาได้อธิบายเพิ่มเติมว่า…
การที่คนกินไข่มีการพัฒนาการสมอง… มีความจำดีขึ้นนั้น
เป็นเพราะภายในไข่ มีสารที่สำคัญตัวหนึ่ง ที่เราไม่ค่อยพูดถึงกันเท่าไหร่ นั้นคือ สาร choline
สาร choline ตัวนี้เอง ที่มี่บทบาทสำคัญต่อการพัฒนาการ
ของสมอง ทำให้ความคิดความอ่าน และความจำดี่ขึ้น
ท่านผู้ชมครับ…
ในเมื่อโรคอัลไซเมอร์ ซึ่งเป็นโรคที่ทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อม ที่พบได้บ่อย เมื่อเกิดขึ้นแล้ว มีแต่จะเลวลง ดังนั้น
หากการกินไข่วันละสองฟองสามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได้ เราก็ควรหันมากินไข่กัน…
นอกเหนือจากนั้น…สิ่ง ที่เราไม่ควรลืม คือ อย่าละเลยวิธีการอื่น ๆ ที่สามารถลดความเสี่ยง ต่อการเกิดสมองเสื่อมได้เช่นกัน เช่น ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ, บริโภคอาหารที่ดีมีคุณค่าทางสารอาหาร, นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ, ดื่มแต่พอประมาณ อย่าสูบบุหรี่ และอื่น ๆ
Management of Dementia – สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
ติดตามข้อมูลข่าวสารและความรู้เพิ่มเติมได้ที่ http://agingthai.dms.go.th
Facebook : Institute of Geriatric Medicine, DMS, MOPH, Thailand.
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆGENERAL NEWS
Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS