You are viewing this post: Glasgow coma scale | e4v5m6 คือ | เว็บนี้ให้ข่าวสารล่าสุดทุกวัน
Table of Contents
Glasgow coma scale | เว็บนี้ให้ข่าวสารล่าสุดทุกวัน.
รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ Glasgow coma scale.
สามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมได้ที่นี่: อัปเดตข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมที่นี่
แลกเปลี่ยนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ e4v5m6 คือ
>>Castu เราหวังว่าข้อมูลนี้จะมีคุณค่าอย่างยิ่งสำหรับคุณ ขอบคุณมากที่รับชม.
เนื้อหาเกี่ยวข้องกับหมวดหมู่e4v5m6 คือ.
#Glasgow #coma #scale
[vid_tags]Glasgow coma scale
e4v5m6 คือ.
คู่มือการปฏิบัติงานด้านประสาทศัลยศาสตร์
สำหรับแพทย์ใช้ทุนในโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์และโรงพยาบาลชุมชน
NEUROSURGERY MANUAL
นพ. บุญเลิศ มิตรเมือง
วทบ. วิทยาศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
พบ. แพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
วว. วุฒิบัตรประสาทศัลยศาสตร์
หน่วยศัลยกรรมระบบประสาท รพ.ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
คำนำ
ปัจจุบันปริมาณผู้ป่วยด้านโรคสมองและไขสันหลังมีมากขึ้นและมีความซับซ้อนในเชิงการวินิจฉัยและการดูแลรักษา ประกอบกับการฟ้องร้องมีมากขึ้นโดยเฉพาะภาวะเลือดออกภายในกะโหลกศีรษะจากอุบัติเหตุ ซึ่งการปฏิบัติงานของแพทย์ใช้ทุนโดยเฉพาะการทำงานในห้องฉุกเฉินและโรงพยาบาลชุมชนอาจเกิดความไม่เข้าใจหรือให้การดูแลรักษาที่ไม่เหมาะสมอาจนำไปสู่ปัญหาได้ หนังสือนี้จึงได้สรุปประเด็นสาระหลักและข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นบ่อยๆในทางประสาทศัลยศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางสำหรับแพทย์ใช้ทุนในการปฏิบัติงาน
อนึ่งคู่มือนี้เขียนจากประสบการณ์ที่ได้จากการปฏิบัติงานจริงไม่ได้ยึดติดกับตำราต่างประเทศมากนักเนื่องจากการทำงานในต่างจังหวัดมีรายละเอียดปลีกย่อยและการบริหารจัดการ การดูแลผู้ป่วยซึ่งมีความแตกต่าง
กับในโรงเรียนแพทย์ หนังสือเล่มนี้จึงทำขึ้นเพื่อการดูแลผู้ป่วยขั้นต้นโดยเน้นที่ห้องฉุกเฉิน และไม่ได้เน้นในราย
ละเอียดที่ลงลึกในด้านเฉพาะทาง
สารบัญ
จัดอันดับโรคทางศัลยกรรมที่แพทย์โดนฟ้องบ่อยที่สุด
Glascow coma scale
Shock in neurosurgery
ประเภทของการบาดเจ็บศีรษะ
Skull base fracture
Diffuse axonal injury
Post traumatic syndrome
การอ่าน film CT scan brain
การแปลผล film skull x-ray (skull series)
การดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ตัวอย่างการรักษาผู้ป่วยจริงที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
ข้อแนะนำสำหรับการรักษาในห้องฉุกเฉิน
ข้อแนะนำสำหรับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชนและการเตรียมพร้อมก่อน refer
การบาดเจ็บไขสันหลัง (spinal cord injury)
Preoperative preparation
Spontaneous Intracranial hemorrhage
การคำนวณ volume of hematoma
Cerebellar hemorrhage
Subarachnoid hemorrhage
Cerebral Infarction
Brain tumor
CNS infection
Spinal epidural abscess
การ approach weakness
Brain edema
CT brain findings (tips)
จัดอันดับโรคที่แพทย์ถูกฟ้องบ่อยสุด
ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย (ข้อมูล พศ. 2545-2549)
โรค รวม ตาย
Head injury 18 14
Acute appendicitis 17 6
Other injury 23 10
Cosmetic 29 1
Other surgery 47 15
Other non surgery 14 10
รวม 148 56
โรคทางระบบประสาทศัลยศาสตร์ที่พบบ่อย
และเป็นปัญหาในการปฏิบัติงานในระดับแพทย์ใช้ทุน
โรคทางระบบประสาทศัลยศาสตร์
- Neurological Trauma (Brain injury and Spinal cord injury)
- Neurological Diseases (congenital, infection, tumor, degenerative,etc)
โรคทางระบบประสาทจากการบาดเจ็บ (Neurological trauma)
- Head injury
- Spinal cord and nerve injury
การบาดเจ็บศีรษะ (Head injury)
การประเมินระดับความรู้สึกตัว (Glascow Coma Scale : EMV)
E = eye opening
E1 = ไม่ลืมตาเลย
E2 = ลืมตาเมื่อเจ็บ
E3 = ลืมตาเมื่อเรียก
E4 = ลืมตาเอง
Ec = ตาบวมปิด (closed , contusion)
M = motor response (สำคัญที่สุด) ***
M1 = ไม่ขยับเลย
M2 = Decerebration
M3 = Decortication
M4 = response to pain (ขยับเมื่อเจ็บ)
M5 = localized to pain (เอามือปัดตำแหน่งเจ็บได้)
M6 = obey to command (ทำตามคำสั่งได้)
V = verbal response
V1 = ไม่ออกเสียง
V2 = ออกเสียงไม่เป็นภาษาไม่มีความหมาย
V3 = ออกเสียงเป็นภาษาเป็นคำๆมีความหมาย
V4 = ออกเสียงเป็นประโยคแต่สับสน
V5 = พูดคุยได้ตามปกติ
*** การประเมิน GCS ต้องทำหลังจาก resuscitate แล้วเท่านั้น (post-resuscitation GCS) จึงจะเป็น
คะแนนที่ถูกต้องและถือเป็น standard
ภาวะที่ทำให้ประเมิน GCS ผิด
- Hypotension (shock) ***
- Hypothermia
- Hypoxemia
- Drunken (blood alcohol >100 mg%)
- Under sedation
ภาวะ Shock ใน Neurosurgery : เกิดจาก
- scalp laceration à massive bleeding
- intracranial hematoma in newborn *** (เลือดออกในสมองใน adult ไม่ทำให้ shock แต่จะทำให้ BP shoot จาก Cushing reflex)
- Neurogenic shock : จาก C spine หรือ upper T spine injury ลักษณะที่พบคือ BP drop และ bradycardia
- Central / tonsillar herniation : เป็นภาวะที่สมองเสียหายรุนแรงและผู้ป่วยกำลังจะเสียชีวิตซึ่งภาวะนี้จะมีองค์ประกอบคือ E1M1V1 , pupil fixed dilate , ไม่หายใจได้เอง และ BP drop
- injury association : ภาวะนี้พบบ่อยที่สุดคือมีการบาดเจ็บร่วมกับ organs อื่นๆเช่น abdominal injury , thoracic injury , retroperitoneal injury , pelvic fracture, fracture femur, maxillofacial injury ดังนั้นใน case ที่เกิดจาก trauma ถ้า BP drop ต้องคิดถึงภาวะข้อนี้ก่อนเสมอ จึงเป็นเหตุผลที่ต้อง consult general surgeon ก่อน neurosurgeon เสมอ
Head injury แบ่งระดับความรุนแรง
- Mild Head injury GCS 13-15 (ทำตามสั่งได้)
- Moderate Head injury GCS 9-12
- Severe Head injury GCS 3-8
การตรวจร่างกาย ระบบประสาท Neurological examination
ER ต้องรู้ ไม่งั้นคนไข้ตาย!!! Airway ทางเดินหายใจ
Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS
0 thoughts on “Glasgow coma scale | e4v5m6 คือ | เว็บนี้ให้ข่าวสารล่าสุดทุกวัน”