Jitta Line, Jitta Score เชื่อถือได้ไหมครับ? (กล้วยๆ Q\u0026A – EP.56) | กองทุนการออมแห่งชาติ 2560

You are viewing this post: Jitta Line, Jitta Score เชื่อถือได้ไหมครับ? (กล้วยๆ Q\u0026A – EP.56) | กองทุนการออมแห่งชาติ 2560

Jitta Line, Jitta Score เชื่อถือได้ไหมครับ? (กล้วยๆ Q\u0026A – EP.56)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

นักลงทุนวีไอ SETIndex เล่นหุ้น VI หุ้นมือใหม่
ติดตามพวกเราได้ที่
FB : https://www.facebook.com/bananasinvestment
Youtube : https://www.youtube.com/channel/UCkkb2AUNbd4tTKv04zgODA
Website : https://www.bananasinvestment.com
LINE : https://lin.ee/gHzw5rK (ID : @bananasinvestment)
Blockdit : https://www.blockdit.com/bananasinvestment

Jitta Line, Jitta Score เชื่อถือได้ไหมครับ? (กล้วยๆ Q\u0026A - EP.56)

กองทุนการออมแห่งชาติ


ประชาชนกว่า 30 ล้านคน ยังไม่มีสวัสดิการด้านรายได้ยามชราภาพ ยกเว้น พนักงานรัฐวิสาหกิจ ข้าราชการ (เงินบำนาญและบำเหน็จบำนาญข้าราชการ) และกลุ่มลูกจ้างเอกชน (สิทธิประโยชน์ชราภาพจากกองทุนประกันสังคม)
ขณะเดียวกันได้มีกฎหมายกองทุนการออมแห่งชาติที่ประกาศใช้เพื่อให้สวัสดิการยามชราภาพกับคนกว่า 30 ล้านคนเมื่อเดือนพฤษภาคม 2554 แต่จนถึงบัดนี้กฎหมายที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนชาวไทยยังไม่ถูกนำมาปฏิบัติ ….. เกิดอะไรขึ้น?!?

กองทุนการออมแห่งชาติ

กองทุนการออมแห่งชาติ คืออะไร ดีกับใคร ผลตอบแทนเท่าไหร่


กองทุนการออมแห่งชาติ คืออะไร ดีกับใคร ผลตอบแทนเท่าไหร่
ประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุมาแล้วเกือบ 10 ปีก่อนหน้านี้ โดยที่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศไม่ได้มีการวางแผนการออมมาตั้งแต่ช่วงที่ยังอยู่ในวัยทำงาน ในขณะที่ระบบ บำนาญของประเทศเองยังมีความเหลื่อมล้ำและแยกกันอยู่ กล่าวคือ
ภาครัฐ = มี กบข. เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ มีกองทุนสงเคราะห์ครู หรือประกันสังคมส่งเสริมการเก็บเงินสมทบลูกจ้างนายจ้าง
ภาคเอกชน = มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ภาคประชาชน = ต่างคนต่างออม ใครไม่มีหนี้ก็ออมเอง แต่ส่วนใหญ่ยังขาดการตระหนักรู้ถึง ความจำเป็นของการออมเพื่อการเกษียณของตนเอง
ซึ่งระบบบำนาญทั้ง 3 มิตินั้นก็แยกการควบคุมจัดการไปแต่ละส่วน ขาดการบริหารและมองภาพรวม และต่อมาเมื่อพระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติมีผลบังคับใช้เมื่อปี พ.ศ. 2554 การปฏิบัติตามกฎหมายก็ถูกละเลยและ ‘ชะลอ’ การดำเนินงานไว้ ประชาชนกว่า 25 ล้านคนซึ่งอยู่ในเงื่อนไขของผู้มีสิทธิเป็นสมาชิกกองทุนไม่สามารถใช้สิทธิของตนตามกฎหมาย จนเวลาล่วงเลยมาถึงปี พ.ศ. 2557 ที่รัฐบาลได้ผลักดันให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมายจนกองทุนการออมแห่งชาติสามารถเปิดรับสมัครสมาชิกได้ ในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2558
กล่าวได้ว่า เป็นครั้งแรกที่ระบบบำนาญของประเทศไทยมีกรอบการดำเนินงานครบถ้วนรองรับประชาชนทุกภาคส่วน สามารถลดความเหลื่อมล้ำของสังคมในมิติด้านการออมเพื่อการเกษียณได้ หากมีการออมต่อเนื่องยาวนาน ก็จะสามารถมีความมั่นใจได้ว่าประชาชนของประเทศจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ในวัยชรา
https://www.nsf.or.th/
40 วิธีสอนการเงินให้กับลูกตั้งแต่วัยประถม
ตอนที่ 1 : https://youtu.be/P1boY9foU9A
ตอนที่ 2 : https://youtu.be/emW0EJ_hOtY
ตอนที่ 3 : https://youtu.be/45McdlHxGLk
ตอนที่ 4 : https://youtu.be/u23zTxjXUK4
ตอนที่ 5 : https://youtu.be/GqxCGAeIMs8
ตอนที่ 6 : https://youtu.be/Ta0PiVNONYM
ตอนที่ 7 : https://youtu.be/1PNCVYXUs8
ตอนที่ 8 : https://youtu.be/JLsdpqNMVoc
7 ข้อสำคัญต้องรู้ก่อนวางแผนการเงินครอบครัว
https://youtu.be/agDBiFa9o0M
เครื่องมือตรวจสอบฐานะทางการเงิน รวยหรือจน วัดกันอย่างไร
https://youtu.be/Ayr70Xkk1jE
วิธีเก็บเงิน ออมเงินด้วย Kept App
https://youtu.be/8W9_PcaDI8
กองทุนการออมแห่งชาติ คืออะไร ดีกับใคร ผลตอบแทนเท่าไหร่
https://youtu.be/si4uTDts5ZE
พีระมิดการเงิน
https://youtu.be/UxY0CuIKJDI
รวยเพื่อลูก ต้องรวยเท่าไหร่ถึงจะพอ
https://youtu.be/VdHGGZNPKac
กระเป๋าเงินของเราให้ใครดูแลดี
https://youtu.be/w2tcCVRGHwY
เดี๋ยวพรุ่งนี้ลูกเราก็โตแล้ว
‼โหลดฟรี ในรูปแบบ E book
👀อ่านได้ทั้งบนคอม บนมือถือ คลิกเลย
👉https://lin.ee/ZDKXJ7h

กองทุนการออมแห่งชาติ คืออะไร ดีกับใคร ผลตอบแทนเท่าไหร่

แนะนำการเป็นสมาชิก กอช


กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เป็นหน่วยงานของรัฐ
ภายใต้การกำกับของกระทรวงการคลัง
มีภารกิจในการสร้างความมั่นคงในการดำรงชีวิตวัยชรา
ของประชาชนที่ไม่มีหลักประกันทางรายได้ในยามชราภาพ
ให้ได้รับผลประโยชน์ในรูปแบบของเงินบำนาญ
โดยมีธนาคารของรัฐทำหน้าที่เป็นหน่วยรับสมัคร
และให้บริการแก่สมาชิก กอช.
_______________________________________________
กอช. สนับสนุนทุกการออม อย่างมีเป้าหมาย
ตรวจสอบสิทธิ์สมัครสมาชิก กอช. ได้ที่https://pension.nsf.or.th/rights/
สมัครสมาชิก กอช. ได้ที่ธนาคารออมสิน กรุงไทย ธ.ก.ส. ธอส. ทุกสาขา
รวมถึงคลังจังหวัดและสถาบันการเงินชุมชนที่ร่วมกับ กอช. ทั่วประเทศ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
สายด่วนเงินออม โทร 020499000
Facebook Page: กองทุนการออมแห่งชาติ กอช.
Line: @nsf.th
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน กอช. : www.nsf.or.th/mobile.html
ตรวจสอบสิทธิสมัครสมาชิก กอช. : https://pension.nsf.or.th/rights/

คุณออม | รัฐช่วยออม | คุณได้บำนาญ
//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

แนะนำการเป็นสมาชิก กอช

กอช. กองทุนการออมแห่งชาติ เราออม รัฐช่วยออม เราได้บำนาญ 01


กอช. กองทุนการออมแห่งชาติ เราออม รัฐช่วยออม เราได้บำนาญ
กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) “เราออม รัฐช่วยออม เราได้บำนาญ” ยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของคนไทยอย่างทั่วถึงและยั่งยืน
“การประหยัดอดออม เป็นรากฐานในการสร้างตัว สร้างฐานะของบุคคล ตลอดจน ความเจริญมั่งคง ของสังคมและชาติบ้านเมือง” กองทุนการออมแห่งชาติ หรือ กอช. เป็นกองทุนการออมภาคสมัครใจ ที่รัฐจัดให้กับแรงงานนอกระบบ ที่ไม่มีสวัสดิการอื่นใดรองรับได้มีบำเหน็จบำนาญในยามเกษียณเหมือนแรงงานในระบบจากเงินออมสะสม และเงินที่รัฐสมทบเพิ่มตามช่วงอายุของสมาชิก โดยมีเป้าหมายสำคัญในการลดความเลื่อมล้ำในสังคม สร้างหลักประกันที่มั่นคงในชีวิตของประชากร สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 2580)
นางสาวปานจิตต์ ตะเพียนทอง คลังจังหวัดอุบลราชธานี กล่าวว่า การออมกับ กอช. จะเป็นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างความมั่นคงของผู้สูงอายุให้มีรายได้ที่พอเพียงจนถึงวัยเกษียณ ยกระดับศักยภาพของประเทศ พัฒนาคนในหลากหลายมิติ นับเป็นสิ่งที่ดีมาก
คลังจังหวัดอุบลราชธานี ยังได้กล่าวต่ออีกว่า เชิญชวนให้พี่น้องประชาชนทุกช่วงวัย ได้มาช่วยกันปลูกฝังการออม กับ กอช. เพื่อจะได้เป็นพื้นฐานในการ สร้างอนาคตที่ดี สร้างความตระหนักรู้เรื่องการออมเงิน สร้างความมั่นคงในวัยเกษียณ “กองทุนการออมแห่งชาติ ส่งเสริมการออม เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของคนไทยอย่างทั่วถึงและยั่งยืน”
ธนัชชัย จึงเจริญ

กอช.  กองทุนการออมแห่งชาติ เราออม รัฐช่วยออม เราได้บำนาญ 01

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่BUSINESS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: BUSINESS

Leave a Comment