You are viewing this post: [Q\u0026A] วิธีคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย พร้อมกับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (มีตัวอย่าง+แจกไฟล์ฟรี) | วิธีคำนวณภาษี
Table of Contents
[Q\u0026A] วิธีคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย พร้อมกับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (มีตัวอย่าง+แจกไฟล์ฟรี)
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ช่วงวิกฤตแบบนี้ หลายคนมีปัญหา เรื่องคิดราคาลูกค้าผิดๆถูกๆ ไม่ว่าจะเป็น…
ต้องรวม VAT ไหม
ต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือเปล่า
รวมทั้ง VAT และ หักภาษีด้วย
โอ้ยยยงงง พรี่หนอมเลยเอาไฟล์มาฝากกัน จะได้ไม่คิดเงินลูกค้าผิดพลาด เดี๋ยวจะมีปัญหาการเงินเพิ่มขึ้นมาอีกต่างหากจ้า
ดาวน์โหลดไฟล์ประกอบได้ที่นี่จ้า
https://bit.ly/WTCALBYTAXBUGNOMS
วิธีคำนวณ ภาษีหักณที่จ่าย และ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ดูวิธีการได้จากคลิปวีดีโอนี้เลยจ้า หรือว่า จะอ่านคำอธิบายจาก ตัวอย่างก็ได้นะ
อย่างบริษัทน้องคนนี้มีรายได้ 60,000 บาท ถ้าหากถูกหักภาษีไว้ 3% น้องจะได้เงิน 58,200 บาท ถูกหักภาษีไว้ 1,800 บาท แต่แปลว่าน้องมีรายได้ต้องเสียภาษี คือ 60,000 บาทนะ และถ้าหากบริษัทน้องจด VAT ยอด 7% ของ VAT ก็ต้องคิดจากยอด 60,000 บาทด้วย
ทีนี้บางทีน้องอยากได้ยอดเต็ม 60,000 บาท ถ้าคนจ่ายเขาจะหักอยู่ เค้าก็ต้องคำนวณย้อนกลับเป็นว่า ยอด 60,000 บาทคือยอดหลังหักภาษีแล้ว ดังนั้นยอดก่อนหักภาษีก็ต้องเป็น 61,855.67 บาท และถูกหักภาษีไว้ 1,855.67 บาทเลยทำให้ได้เงิน 60,000 บาทถ้วนนั่นเอง และถ้าบริษัทน้องจด VAT ยอด 7% ก็ต้องคิดจากยอดก่อนหักภาษี คือ 61,855.67 บาท
ฝากติดตามรายการ คุยภาษีหนีเคอร์ฟิว ได้เลยจ้า
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/
มีรายได้ จะคำนวณเสียภาษีอย่างไร ?!?(PIT #8) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.18
วิธีคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทำได้ 2 วิธี
1. คำนวณจากเงินได้สุทธิ แบบขั้นบันได 035%
เงินได้สุทธิ x อัตราภาษี = เงินภาษีที่ต้องจ่าย
2. คำนวณจากเงินได้พึงประเมิน คำนวณแบบเหมา 0.5%
เงินได้ที่ไม่ใช่เงินเดือน x 0.005 = ค่าภาษี
ถ้าคำนวณแล้ววิธีที่ 2 ไม่ถึง 5,000 บาท ให้เลือกเสียวิธีที่ 1
==========================================
ย้อนกลับไปดู
1. Update แบบ ภ.ง.ด.90 ปี 2561 บอกเล่าสไตล์พี่ดาต้า Ep.5
https://youtu.be/iFopDXcoXyo
2. เงินได้พึงประเมิน(PIT 1) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.11
https://youtu.be/GF9nyl8V2T8
3. การหัก ค่าใช้จ่าย(PIT 2) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.12
https://youtu.be/fDXQH4BzHyo
4. การหัก ค่าใช้จ่ายตามจริง(PIT 3) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.13
https://youtu.be/FBK8kFAU8nk
5. ค่าลดหย่อน ส่วนตัวและครอบครัว(PIT 4) บัญชี StartUP D.I.Y Trips Ep.14
https://youtu.be/xmevPvBOzuY
6. ค่าลดหย่อน เงินออม ลงทุน ประกันชีวิต(PIT 5) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.15
https://youtu.be/PdnAgPRz6Gk
7. ค่าลดหย่อนเงินบริจาค(PIT 6) บัญชี StartUp D.I.Y.Trips Ep.16
https://youtu.be/VcGs5ajMZuA
8. ค่าลดหย่อน กระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ(PIT 7) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.17
https://youtu.be/XkC6FlQHwE
4.วิธีการคำนวณภาษี ภ.ง.ด.1
แนะนำการคิดคำนวณภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่ายเพื่อนำไปใส่ในโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง
เงินเดือนเท่าไรต้องเสียภาษี คิดให้ดูจากวิธีคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี 2562 Ep.1 : ภาษีครึ่งปี คืออะไร คิดยังไง ภงด94 ยื่นตอนไหน?
ภาษีครึ่งปี คืออะไร คำนวณแบบไหน แบบ ภ.ง.ด. 94 คืออะไร ปี 2562 ใครมีหน้าที่ต้องยื่นภาษีครึ่งปีบ้าง ดูคำตอบได้ในตอนนี้เลยครับผม
กรณีบุคคลธรรมดา (คนปกติทั่วไป) ต้องมีรายได้ประเภทที่ 5 8 ในช่วงครึ่งปีแรก (มกราคม มิถุนายน) เกิน 60,000 บาท จึงจะมีหน้าที่ยื่นภาษี โดยยื่นภายในวันที่ 30 กันยายน ของทุกปี
สำหรับวิธีการคำนวณนั้น จะใช้หลักการเดียวกันกับการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปีไม่มีผิดเพี้ยนเลยครับ โดยแบ่งวิธีการคำนวณออกเป็น 2 วิธี คือ วิธีเงินได้สุทธิ และ วิธีเงินได้พึงประเมิน (0.5% x รายได้)
แต่ค่าลดหย่อนบางตัวจะหักได้เพียงแค่ครึ่งเดียวเท่านั้น เช่น ค่าลดหย่อนส่วนตัวเหลือ 30,000 บาท
คำแนะนำเพิ่มเติมการยื่นภาษีครึ่งปีของพรี่หนอม คือ ถ้าหากมีการขาย LTF หรือ RMF รวมถึงต้องเสียภาษีจากการรับให้ในช่วงครึ่งปีที่ผ่านมา ควรนำมายื่นภาษีให้ถูกต้องแม้ว่าจะไม่เสียภาษีก็ตาม รวมถึงค่าลดหย่อนภาษีที่ใช้ในครึ่งปี ควรเริ่มเก็บเอกสารมายื่นภาษีด้วย จะได้ช่วยในการเตรียมตัวสำหรับครึ่งปีหลังได้อย่างถูกต้องครับผม
ยื่นภาษีครึ่งปี ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีครึ่่งปี ภงด94 คำนวณภาษีครึ่งปี
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่INVESTMENT
Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT