You are viewing this post: ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! #อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!! | กฎหมายเกษียณอายุ
Table of Contents
ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! #อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!!
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!!
ปัญหาหนังชีวิต…กับการงานที่เราว่ามั่นคง
แต่!มันไม่มั่นคงถูกให้ออกซะงั้น
ยิ่งตอนนี้จิ้มคนออกกันเป็นว่าเล่น หลายๆบริษัทปิดตัวลง
เครียดกันเลยทีเดียว…
เราควรรู้ไว้ไม่ให้โดน \”นายจ้างหัวหมอ\” และ \”ผู้รู้กฎหมายหัวหมอของบริษัท\”เอาเปรียบเราลูกจ้างตาดำๆ
มีลูกไว้บอกลูก! มีหลานไว้บอกหลาน! มีพ่อไว้บอกพ่อ! มีแม่ไว้บอกแม่!
ติดตามกันเลย
รู้ไว้ไม่ชีช้ำ แชร์วนวนไป ขอบคุณทุกๆไลค์และแชร์ เลิกจ้าง ทนายคู่ใจคลายทุกข์
ติดตามทาง FB : ทนายคู่ใจ คลายทุกข์
ทำงาน เอกชน เกษียณเมื่อไหร่ ?
อ้างอิงจาก พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541
ท่านผู้ชมสามารถเข้าไปเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราได้ที่ hrca.simdif.com
กฎหมายที่ลูกจ้างควรรู้ ป้องกันนายจ้างโกง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ.2535
https://library2.parliament.go.th/library/content_law/15.pdf
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541
http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%A477/%A477209999update.pdf
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
https://www.sme.go.th/upload/mod_download/c327209999update.pdf
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533
http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%BB11/%BB11209999update.pdf
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%A704/%A704209999update.pdf
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/069/T_0052.PDF
===================================
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?
Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?
การเกษียณอายุ ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน กำหนดอายุการเกษียณไว้ที่ 60 ปีบริบูรณ์ และให้ถือเสมือนว่าการเกษียณอายุเป็นการเลิกจ้าง นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมายนะคะ โดยการเกษียณอายุของลูกจ้าง แบ่งออกเป็น 2 กรณีดังนี้
1. กรณีนายจ้างกำหนดอายุเกษียณอายุไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือกำหนดไว้ในสัญญาจ้าง ให้ลูกจ้างเกษียณก่อนครบ 60 ปีบริบูรณ์ ให้ถือว่าการเกษียณอายุเป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือในสัญญาจ้างนั้น
2. กรณีนายจ้างกำหนดอายุเกษียณอายุไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือกำหนดไว้ในสัญญาจ้าง ให้ลูกจ้างเกษียณอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ หรือหากนายจ้างไม่ได้กำหนดการเกษียณอายุไว้ ลูกจ้างมีสิทธิขอเกษียณอายุเองได้ โดยแสดงเจตนาต่อนายจ้างได้เมื่ออายุครบ 60 ปีขึ้นไป และให้มีผลเมื่อครบ 30 วัน หลังการแสดงเจตนากับนายจ้าง
การเกษียณอายุลูกจ้างไม่ได้สิทธิค่าบอกกล่าวล่วงหน้านะคะ นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุเกษียณอายุตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือตามที่กำหนดไว้ในสัญญาจ้างแล้ว จึงไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าให้ลูกจ้างทราบ เพราะลูกจ้างทราบล่วงหน้าอยู่เเล้วว่าการเกษียณอายุจะเกิดขั้นเมื่อใด ดังนั้น โดยข้อกฎหมาย นายจ้างจึงไม่ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า แต่ต้องจ่าย ค่าชดเชยตามอายุงาน ดังนี้ค่ะ
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ยังไม่ครบ 1 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ยังไม่ครบ 3 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ยังไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ยังไม่ครบ 10 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ยังไม่ครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400 วัน
คู่มือมนุษย์เงินเดือน
#การเกษียณของลูกจ้าง #ลูกจ้างจะเกษียณตอนอายุเท่าไหร่???
การเกษียณของลูกจ้างจะเกษียณตอนอายุเท่าไหร่ อายุครบ 60 ปี แล้วจะเกษียณได้ไหม จะต้องทำอย่างไร กฎหมายแรงงานกำหนดไว้อย่างไร ผมมีคำตอบให้ รวมถึงกรณีนายจ้างมีระเบียบที่กำหนดการเกษียณอายุไว้เกิน 60 ปี หรือไม่ได้กำหนดการเกษียณไว้ จะมีผลทางกฎหมายอย่างไร สามารถหาคำตอบได้ในคลิปนี้เลยครับ
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆINVESTMENT
Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT