การทำปุ๋ยโพแทสเซียม Kจากขี้เถ้า | k คือธาตุอะไร

You are viewing this post: การทำปุ๋ยโพแทสเซียม Kจากขี้เถ้า | k คือธาตุอะไร

การทำปุ๋ยโพแทสเซียม Kจากขี้เถ้า


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ธาตุโพแทสเซียม (K) จากขี้เถ้า
โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชมีความต้องการในปริมาณมาก โดยเกษตรกรส่วนใหญ่จะเติมลงดินให้พืชโดยใช้ปุ๋ยเคมี แต่คุณรู้หรือไม่ว่า ธาตุโพแทสเซียมสามารถจัดหามาจากไม้ที่ผ่านการเผาเป็นขี้เถ้า
ไม้ 100% สามารถเผาได้ 99.5% โดย 0.5% ที่เหลือคือแร่ธาตุที่ยังไม่สลายจากการเผา ซึ่งมีลักษณะเป็นผงแป้งสีเทา หรือที่เรียกว่า \”ขี้เถ้า\” ซึ่ง 80% ของขี้เถ้าไม่ละลายน้ำ มีเพียง 20% เท่านั้นที่ละลายน้ำได้ โดยขี้เถ้าที่ละลายน้ำได้ประกอบด้วย
K2CO3 (โพแทสเซียมคาร์บอเนต)
Na2CO3 (โซเดียมคาร์บอเนต)
K2SO4 (โพแทสเซียมซัลเฟต)
องค์ประกอบหลักของขี้เถ้าคือ K2CO3 (โพแทสเซียมคาร์บอเนต) เมื่อ โพแทสเซียมคาร์บอเนตละลายในน้ำ
จะทำให้เกิด โพแทสเซียมไอออน (K+) 2 ตัว
และเกิด คาร์บอเนตไอออน (CO3,2) 1 ตัว เมื่อคาร์บอเนตละลายน้ำจะทำให้เกิด ไบคาร์บอเนต (HCO3) และ ไฮดรอกไซด์ (OH) ซึ่งทำให้เป็นด่างหรือมี pH มากกว่า 7
บทความนี้จะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรที่ต้องการปรับปรุงดินที่ขาดธาตุโพแทสเซียมที่ไม่ต้องการใช้ปุ๋ยเคมี และกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตปุ๋ยหมักหากต้องการเพิ่มธาตุโพแทสเซียมอาจใช้วิธีผสมขี้เถ้าลงไปได้ ถ้าหากต้องการให้ได้โพแทสเซียมที่บริสุทธิ์มากขึ้นก็ให้นำขี้เถ้ามาละลายน้ำ กรองส่วนใสเก็บไว้ใช้ โดยให้ทางดินได้เช่นกันครับ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ทางใบเนื่องจากขี้เถ้ามีความเค็มและเป็นด่าง
อัตราการใช้ 100 ml/น้ำ 20 ลิตร รดทางดินทุก 7 หรือ 15 วัน
อ้างอิง: RandolphMacon College ภาควิชา Chemistry \u0026 Art History

การทำปุ๋ยโพแทสเซียม Kจากขี้เถ้า

บทบาทของธาตุโพแทสเซียม


บทบาทของธาตุโพแทสเซียม

NPK. คืออะไร?


ผู้ที่จะเริ่มทำการเกษตรต้องรู้และทำความเข้าใจปุ๋ยให้ถ่องแท้

NPK. คืออะไร?

\”วิตามินเค\” ประโยชน์และโทษที่คุณอาจไม่เคยรู้


แม้แคลเซียมจะเป็นแร่ธาตุจำเป็นที่เสริมสร้างให้กระดูกและฟันแข็งแรง
.
แต่รู้ไหมว่าหากไม่มีตัวช่วยสำคัญอย่างวิตามิน K ก็จะทำให้แคลเซียมที่ควรจะอยู่ในกระดูกหลุดไปอยู่ผิดที่ผิดทางในร่างกาย
.
ก่อให้เกิดอันตรายแก่กระดูก ข้อต่อ และอาจส่งผลรุนแรงไปถึงหลอดเลือดหัวใจหรือสมองได้!!
.
ถ้าแคลเซียมอยู่ผิดที่จะทำให้เกิดโรคร้ายชนิดใด และจะมีวิธีดูแลป้องกันตัวเองได้อย่างไร
.
ไปฟังคำแนะนำ จาก พญ.ศิเรมอร ไทรวิจิตร กันเลยจ้ะ
Website: http://www.goodeatingwellbeing.com/
Facebook: https://www.facebook.com/goodeatingwellbeing/

\

5 สุดยอดวิตามินและแร่ธาตุบำรุงผม by หมอแอมป์ [Dr. Amp Guide👨‍⚕️\u0026 Dr.Amp Podcast]


ผมร่วง ปัญหาที่พบเจอได้ในชีวิตประจำวัน ต่างก็มีสาเหตุค่อนข้างหลากหลายที่แตกต่างกันไปในแต่ละคน วันนี้คุณหมอแอมป์จะพาเรามารู้จักกับเส้นผม สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผมร่วง รวมถึงเคล็ดลับวิธีการบำรุงด้วยแร่ธาตุและวิตามินต่างๆ ที่สามารถเสริมทานเข้าไปได้ใน Podcast นี้เลยค่ะ
รายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
ตอน \”5 สุดยอดวิตามินและแร่ธาตุบำรุงผม\” โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
มารู้จักกับเส้นผมของคนเรา 00:57
ปัจจัยที่ทำให้เส้นผมอ่อนแอและร่วง
1. พันธุกรรม 08:30
2. การอดอาหาร 11:21
3. ระบบการทำงานของต่อมไร้ท่อ 12:03
4. การทำผม การย้อมผม 12:42
5. สิ่งแวดล้อม ฝุ่น ควัน และสารเคมี 13:29
ุ 6. ตั้งครรภ์ 13:52
7. ความเครียดและการนอนหลับ 14:45
8. โรค Metabolic Syndrome 16:08
วิตามินบำรุงผม
1. ไบโอติน 19:10
2. สังกะสี 21:45
3. วิตามินซี 23:12
4. ธาตุเหล็ก 25:10
5. โฟลิก 27:27
🌐http://www.dramp.com
➡️Instagram: DrAmp Team
➡️Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

แหล่งที่มา ตอน 5 สุดยอดวิตามินบำรุงผม
1.The American Academy of Dermatology. WHAT KIDS SHOULD KNOW ABOUT HOW HAIR GROWS. Available from: https://rb.gy/ejzkpd
2.Finner AM. Nutrition and hair: deficiencies and supplements. Dermatologic clinics. 2013;31(1):16772.
3.Betsy A, Binitha M, Sarita S. Zinc deficiency associated with hypothyroidism: an overlooked cause of severe alopecia. Int J Trichology. 2013;5(1):40.
4.Lee Y, Kim YD, Hyun HJ, Pi Lq, Jin X, Lee WS. Hair shaft damage from heat and drying time of hair dryer. Annals of dermatology. 2011;23(4):45562.
5.Ikram S, Malik A, Suhail M. Physiological skin changes during pregnancy. Journal of Pakistan Association of Dermatology. 2018;28(2):21923.
6.DONOVAN Clinic. Stress and Hair Loss: Is it real? What is the mechanism? 2020. Available from: https://rb.gy/7h7eyi
7.Lie C, Liew CF, Oon HH. Alopecia and the metabolic syndrome. Clinics in dermatology. 2018;36(1):5461.
8.Bin Saif GA, Alotaibi HM, Alzolibani AA, Almodihesh NA, Albraidi HF, Alotaibi NM, et al. Association of psychological stress with skin symptoms among medical students. Saudi Med J. 2018;39(1):5966.
9.Turner KJ, Vasu V, Griffin DK. Telomere biology and human phenotype. Cells. 2019;8(1):73.
10.Schweiger ES, Boychenko O, Bernstein RM. Update on the pathogenesis, genetics and medical treatment of patterned hair loss. Journal of drugs in dermatology: JDD. 2010;9(11):1412.
11.Patel DP, Swink SM, CasteloSoccio L. A review of the use of biotin for hair loss. Skin appendage disorders. 2017;3(3):1669.
12.Glynis A. A Doubleblind, Placebocontrolled Study Evaluating the Efficacy of an Oral Supplement in Women with Selfperceived Thinning Hair. J Clin Aesthet Dermatol. 2012;5(11):2834.
13.Saper RB, Rash R. Zinc: an essential micronutrient. American family physician. 2009;79(9):768.
14.Trüeb RM. Oxidative stress in ageing of hair. Int J Trichology. 2009;1(1):614.
15.Deloche C, Bastien P, Chadoutaud S, et al. Low iron stores: a risk factor for excessive hair loss in nonmenopausal women. Eur J Dermatol. 2007;17(6):507512. doi:10.1684/ejd.2007.0265
16.Olsen EA, Reed KB, Cacchio PB, Caudill L. Iron deficiency in female pattern hair loss, chronic telogen effluvium, and control groups. J Am Acad Dermatol. 2010;63(6):991999. doi:10.1016/j.jaad.2009.12.006
17.Daulatabad D, Singal A, Grover C, Chhillar N. Prospective analytical controlled study evaluating serum biotin, vitamin b12, and folic acid in patients with premature canities. Int J Trichology. 2017;9(1):19.
18.Esmaeilzadeh S, GholinezhadChari M, Ghadimi R. The effect of metformin treatment on the serum levels of homocysteine, folic acid, and vitamin B12 in patients with polycystic ovary syndrome. Journal of human reproductive sciences. 2017;10(2):95.
DrAmpGuide หมอแอมป์ วิตามิน บำรุงผม ผมร่วง สุขภาพดี เวชศาสตร์ชะลอวัย

5 สุดยอดวิตามินและแร่ธาตุบำรุงผม by หมอแอมป์  [Dr. Amp Guide👨‍⚕️\u0026 Dr.Amp Podcast]

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆBUSINESS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: BUSINESS

Leave a Comment