การฝึกกล้ามเนื้อก่อนการกลืน ในผู้ป่วยกลืนลำบาก ( Dysphagia Training ) รามา Channel | การ ฝึก กลืน ใน ผู้ ป่วย stroke

You are viewing this post: การฝึกกล้ามเนื้อก่อนการกลืน ในผู้ป่วยกลืนลำบาก ( Dysphagia Training ) รามา Channel | การ ฝึก กลืน ใน ผู้ ป่วย stroke

การฝึกกล้ามเนื้อก่อนการกลืน ในผู้ป่วยกลืนลำบาก ( Dysphagia Training ) รามา Channel


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

เทคนิคการดูและและฝึกผู้ป่วยกลืนลำบาก
1. ข้อควรระวังในผู้ป่วยกลืนลำบาก
เป็นการสำรวจสภาพร่างกายเบื้องต้นของผู้ป่วย  เช่น  สภาพภายในช่องปากผู้ป่วยมีฟันหรือใส่ฟันปลอมหรือไม่  ท่าทางการทรงท่าของผู้ป่วย  เช่น  การนั่งทรงท่าตรงหรือไม่
2. ให้การกระตุ้นการรับความรู้สึกทางปาก
2.1  การใช้ความเย็นจากน้ำเย็นหรือน้ำแข็งในการกระตุ้น อาจใช้ช้อนอะลูมิเนียมหรือไม้พันสำลีชุบน้ำเย็นกระตุ้นภายในช่องปาก  เช่น กระพุ้งแก้ม  เหงือกด้านในด้านนอก บนล่าง ลิ้น  เพดาน  เป็นต้น
2.2   การกระตุ้นด้วยน้ำผลไม้ ใช้ไม้พันสำลีชุบน้ำผลไม้  ล้วกระตุ้นเหมือนกับข้อ 2.1
2.3   เทคนิคการกระตุ้นทำก่อนรับประทาน  ควรทำวันละ 2 – 3  ครั้ง
3.  การจัดท่า
การจัดท่าทางที่เหมาะสมในการกลืนของผู้ป่วยมีความจำเป็น  เพราะส่งผลให้ผู้ป่วยกลืนได้ดีขึ้นและป้องกันการสำลักท่าทางที่ถูกต้องคือ  ผู้ป่วยนั่งบนเก้าอี้หรือล้อเข็นต้องนั่งตัวตรง  ฝ่าเท้าวางราบกับพื้น  เข่างอ  90 องศา  หลังตรงหรือมีพนักเก้าอี้พิง แขนทั้งสองข้างวางบนที่พักแขนหรือวางราบบนโต๊ะ
4. การบริหารออกกำลังปาก
  ให้ผู้ป่วยยิ้มสลับกับห่อปาก  เม้มปาก
  ให้ผู้ป่วยอ้าปากทำท่าทางการเคี้ยว  ขยับขากรรไกร  ซ้าย – ขวา
  ผู้ป่วยขยับลิ้นซ้าย – ขวา  หรือแตะกระพุ้งแก้ม  และเพดาน  บน – ล่าง  แลบลิ้น  เข้า – ออก
  ผู้ป่วยฝึกเป่าลมหรือเป่าเทียน
  ฝึกกลืนน้ำลายบ่อย ๆ ครั้ง
5. การฝึกออกเสียง
  อา   อี   อู   โอ   เอ
  ลา   ลี   ลู   โล   เล
  ปา   ปี   ปู   โป   เป
  การฝึกให้ผู้ป่วยไอด้วยตนเอง
6. การเลือกอาหาร
การเลือกชนิดและประเภทของอาหารมีส่วนสำคัญมากในการฝึกกลืน เพราะอาหารที่เหมาะสมจะส่งผลให้ผู้ป่วยกลืนได้ดีขึ้น
ซึ่งการเลือกอาหารตามลำดับดังนี้
6.1  อาหารลักษณะเหลวข้นเนื้อเดียวกัน  เช่น  โจ๊กปั่นละเอียด  อาหารเด็กอ่อน  สังขยา  ไอศครีม ผลไม้ปั่น  น้ำผึ้งแยม คัสตาร์ท  เป็นต้น
6.2  อาหารเหลวข้น  ได้แก่  โจ๊ก  ไข่ตุ๋น  ฟักทองบด  มันบด  เยลลี่  พุดดิ้ง  ซุปข้น ๆ
6.3  อาหารอ่อนเคี้ยวง่าย มีน้ำได้เล็กน้อย  เช่น  ข้าวต้มข้น ๆ ผลไม้สุกนิ่ม ๆ เนื้อปลา ฟักทองต้ม  กล้วย  ไข่ลวก  ขนมปัง  ผักนิ่ม ๆ  เป็นต้น
7.  การป้อนอาหาร
การป้อนอาหารมีความสำคัญต่อการฝึกกลืนเพราะเป็นกระบวนการที่ส่งอาหารเข้าปากโดยตรง การป้อนอาหารควรป้อนอย่างระมัดระวังไม่ป้อนเร็วเกินไป  อาหารที่ป้อนไม่ควรคำใหญ่เกินไป  ให้กลืนอาหารในปากให้หมดก่อนแล้วค่อยป้อนคำถัดไป   ขณะกลืนถ้าเกิดการสำลักให้หยุดป้อนก่อนแล้วให้ผู้ป่วยไอเอาเศษอาหารออกมาถ้ากลืนอาหารลงไม่ได้ให้ล้วงเอาอาหารออกมา

การฝึกกล้ามเนื้อก่อนการกลืน ในผู้ป่วยกลืนลำบาก ( Dysphagia Training ) รามา Channel

EP.1/4 : การรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลำบากด้วยเครื่อง PMS


⚠️ ทุกคนทราบไหมคะ เครื่อง PMS สามารถกระตุ้นการกลืนได้เช่นเดียวกัน ⁉️
ไม่ว่าจะเป็น…
✅ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
✅ โรคพาร์กินสัน
✅ โรคอื่น ๆ ที่ทำให้ความสามารถด้านการกลืนถดถอยลง
⚠️ ทุกคนสงสัยไหมคะ ❓ ทำไมเราจะต้องกระตุ้นการกลืนในผู้ป่วยกลุ่มนี้ด้วย 🤔 คลิปวิดีโอนี้มีคำตอบค่ะ ไปชมพร้อม ๆ กันเลยค่ะ 👇🏻👇🏻
📢 ไม่อยากพลาดข่าวสารดี ๆ เกี่ยวกับสุขภาพ อย่าลืมกด \”ติดตาม\” และ \”กดกระดิ่ง\” 🔔 ด้วยนะคะ
📢 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ The Senizens Stroke Rehab
Tel. 0955797364
FB: senizensrehab
Line: @senizensrehab
IG: senizensrehab
www.thesenizens.com
Email: [email protected]
PMS เครื่องPMS TMS PeripheralMagneticStimulation TranscranialMagneticStimulation การกระตุ้นด้วยคลื่นแม่เหล็ก กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด จิตวิทยา สตูดิโอออกกำลังกาย ธาราบำบัด ฝึกพูด กายภาพบำบัดผู้สูงอายุ ออกกำลังกาย ออกกำลังกายที่บ้าน โยคะ พิลาทิส ศูนย์ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดสมอง stroke สุขภาพดีสมวัยให้เราออกแบบ TheSenizensStrokeRehabByHealthDesigns

EP.1/4 : การรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลำบากด้วยเครื่อง PMS

ลดตึงและเกร็งแขนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : บำบัดง่าย ๆ ด้วยกายภาพ


มาดูคำแนะนำในการทำกายภาพบำบัด ที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ช่วยลดอาการตึงและเกร็งแขนได้ เรียนรู้ไปพร้อมกับ กภ.พรพิรุณ ฝึกศิลป์ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ http://www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
หลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดสมอง กายภาพบำบัด

กด Subscribe ติดตามรายการดี ๆ ของช่อง ได้ที่ : http://thaip.bs/YSBht5j
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBS
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
LINE : http://www.thaipbs.or.th/AddLINE
YouTube : http://www.youtube.com/ThaiPBS

ลดตึงและเกร็งแขนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : บำบัดง่าย ๆ ด้วยกายภาพ

การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ภาวะกลืนลำบาก


การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ภาวะกลืนลำบาก

การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ภาวะกลืนลำบาก

ลดอาการเกร็งในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : บำบัดง่าย ๆ ด้วยกายภาพ (25 มี.ค. 64)


มาทำความรู้จักกับอาการกล้ามเนื้อเกร็งตัว ในกลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง พร้อมเรียนรู้ท่ากายภาพช่วยลดอาการที่เกิดขึ้น กับ กภ.พรพิรุณ ฝึกศิลป์ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ http://www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
อาการเกร็ง โรคหลอดเลือดสมอง กล้ามเนื้อเกร็งตัว

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://shorturl.at/czXZ0
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
LINE : http://www.thaipbs.or.th/AddLINE
YouTube : http://www.youtube.com/ThaiPBS

ลดอาการเกร็งในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : บำบัดง่าย ๆ ด้วยกายภาพ (25 มี.ค. 64)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment