การเสวนาในหัวข้อ \”เกษตรอัจฉริยะ Smart Farmer\” | ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่

You are viewing this post: การเสวนาในหัวข้อ \”เกษตรอัจฉริยะ Smart Farmer\” | ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่

การเสวนาในหัวข้อ \”เกษตรอัจฉริยะ Smart Farmer\”


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เกษตรอัจฉริยะ “Smart Farmer เราจะมาพูดคุย ถึงการพัฒนาเกษตรกรไทย ให้กลายเป็น Smart Farmer เพื่อยกระดับมาตรฐานให้เป็นเกษตรกรคุณภาพที่สามารถปรับเปลี่ยนตนเอง ไปสู่เกษตรกรในยุคใหม่ที่พร้อมรับกับสถานการณ์ทั้งในปัจจุบันและอนาคต
Smart Farmer คืออะไร
Smart Farmer คือ เกษตรกรปราดเปรื่อง โดยมีเจ้าหน้าที่เป็นเพื่อนคู่คิดเพื่อช่วยยกระดับเกษตรกรไทย ให้มีความสามารถในการปรับเปลี่ยน ให้เปิดรับข้อมูลข่าวสารมากขึ้น ให้เปิดใจในการเรียนรู้ ใช้ความรู้และเทคโนโลยีมาจัดการด้านการเกษตร ให้มีความสามารถมากขึ้นไป โดยเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการ Smart Farmer จะต้องมีการประเมินคุณสมบัติพื้นฐานด้านการเกษตร รวมไปถึงใช้เทคโนโลยีต่างๆให้ปราดเปรื่อง ทันยุคทันสมัย และเกิดความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้

มีขั้นตอนการสมัครเป็น Smart Farmer อย่างไรบ้าง
ติดต่อที่สำนักงานเกษตรอำเภอ เกษตรจังหวัดใกล้บ้าน ขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานที่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คุณสมบัติพื้นฐานในการเป็น Smart Farmer มี 6 ตัวชี้วัด คือ 1. มีความรู้ในเรื่องที่ทำ 2. มีความรู้ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสาร 3. มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการตั้งแต่ขั้นตอนแรกไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการที่ทำ 4. สินค้ามีคุณภาพ ไปจนถึงในผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัย 5. มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม 6. มีความภาคภูมิใจที่เป็นเกษตรกร

สวก. มีแนวทางในการพัฒนา Smart Farmer อย่างไรบ้าง
ภาคการเกษตรมีความสำคัญต่อประเทศไทยเป็นอย่างมาก จึงมีการให้ทุนการศึกษามากกว่า 270 ทุน รวมเงินทุนการศึกษาทั้งหมดประมาณ 70 ล้านบาท ซึ่งโดยในปี 2562 ได้ทำโครงการทุนปริญญาตรีร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดยใช้เวลาเรียนตลอดระยะเวลาหลักสูตรประมาณ 2 ปี และเพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาทาง สวก. ได้เพิ่มทุนอีก 180 ทุนด้วยงบประมาณ 40 ล้านบาท ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และในอนาคตจะมีการขยายผลไปตามมหาวิทยาลัยต่างๆอย่างทั่วถึงเพื่อตอบสนองภาคการเกษตรของประเทศ ดังสโลแกนที่ว่า “เรียนให้รู้ ดูให้เห็น คิดให้เป็น ทำให้ได้”
จุดเด่นของโครงการปริญญาตรีเพื่อเกษตรกรรุ่นใหม่ Smart Farmer
เป็นหลักสูตรพิเศษ จัดหลักสูตรวิชาพิเศษเพื่อให้เหมาะสมกับ Smart Farmer โดยเป็นการเสริมในทักษะที่มีอยู่แล้ว และเพิ่มในส่วนทักษะที่จะต้องทราบเพื่อให้เกิดแนวทางในการปฏิบัติที่เป็นงานวิจัย New skill เพราะฉะนั้นการดำเนินการจะเน้นในเรื่องการปฏิบัติ เน้นในการทดลองนำงานวิจัยที่ได้จากการเรียนไปปฏิบัติจริง เพื่อต้องการนักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้จริงในพื้นที่ มีความรู้เกี่ยวกับทางด้านการเกษตร การผลิต การตลาด รวมไปถึงการทำการตลาดยุคใหม่ รวมไปถึงการทำตลาดออนไลน์ด้วย โดยรับสมัครตั้งแต่วุฒิปวส. ขึ้นไป ไม่จำกัดอายุ ไม่จำกัดสาขาวิชา มาศึกษาเป็นระยะเวลา 2 ปี ก็จะได้วุฒิปริญญาตรีไปอีก 1 ใบ
จากโครงการดังกล่าวมุ่งหวังให้ผู้ที่เรียนได้รับทุนสามารถทำถึงหลักได้ 3 อย่างคือเรียกว่า S M R คือ Startup ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ได้สามารถสร้างธุรกิจในชุมชนได้ M คือ model จะต้องเป็นต้นแบบเป็นเกษตรกรต้นแบบที่สามารถพัฒนาในชุมชนได้คือ Research ไปเป็นนักวิจัยระดับชุมชนพัฒนาและวิจัยในชุมชนให้เกิดความยั่งยืนในทางด้านการเกษตรต่อไปได้
อนาคตจะมีแผนการการพัฒนา Smart Farmer อย่างไรบ้าง
ในปี 25622566 มีการเพิ่มทุนในมหาวิทยาลัยแม่โจ้และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชอีก 180 ทุน
Smart Farmer มีความโดดเด่นและแตกต่างอย่างไรบ้าง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เน้นในเรื่องของการทำโครงงาน สร้างสรรค์นวัตกรรม รวมไปถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ เทคโนโลยี Iot เน้นงานปฏิบัติจริง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เน้นในเรื่องของการทำโครงงาน ปฏิบัติได้จริง Project Base ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี นำผลผลิตมาแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จะเน้นในเรื่องการศึกษาออนไลน์ สื่อสิ่งพิมพ์ที่เป็นเอกสารการสอนที่มีคุณภาพมาก นักศึกษาไม่จำเป็นต้องเดินทางมาเรียน สามารถเรียนได้ที่บ้าน เรียนเฉพาะวันเสาร์หรืออาทิตย์
กิจกรรมของ สวก. มีอะไรที่จะส่งเสริม Smart Farmer
สวก. วางกลไกไว้ 3 หลักคือ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อประเมินศักยภาพและเป็นคลังข้อมูลให้หน่วยงานหลายๆหน่วยงานนำไปใช้ได้ 2.สร้างกลไกในการขับเคลื่อนภายในของกรมการส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ หลักการพัฒนางานทางด้านการเกษตร 3.บูรณางานของทุกหน่วยงานทุกภาคส่วน ทุกภาคการศึกษา ภาคเอกชน หรือแม้แต่ส่วนราชกา รบริษัทเอกชน ที่เกี่ยวข้องที่จะมาช่วยกันพัฒนา
เกษตรอัจฉริยะ​ SmartFarmer เกษตรกร​ covid19​ โควิด19​ อยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ​ สวกงานวิจัยใช้ได้จริง​ สวกติดปีกเกษตรไทย​ สวกติดปีกเกษตรไทยงานวิจัยใช้ได้จริง​ ARDA
website 🌎 http://www.arda.or.th
Facebook 🔵https://www.facebook.com/ardathai
Line ✅https://line.me/R/ti/p/%40yhv6070r
ARDA 🅱 https://www.facebook.com/kasetkaoklaiARDA2017

การเสวนาในหัวข้อ \

โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย ครั้งที่ 3/2564 \”การเขียนข้อเสนอโครงการเพื่อขอทุน บพท.\” ตอนที่ 2


โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย ครั้งที่ 3/2564 \

กรมสมเด็จพระเทพ ฯ พระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหิดล ๕ ตุลาคม ๒๕๖๓


สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหิดล ๕ ตุลาคม ๒๕๖๓
\r
\r
ขอบคุณที่รับชม\r
\r
กดติดตาม / Subcribe ข่าวในพระราชสำนัก ข่าวสารการปฏิบัติพระราชกรณียกิจของพระราชวงศ์ไทย ได้ที่ \r
\r
YOUTUBE : ProGressTH 789

กรมสมเด็จพระเทพ ฯ พระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหิดล  ๕ ตุลาคม ๒๕๖๓

บันทึกการประชุมออนไลน์ ครั้งที่ 1 : Meet \u0026 Greet (Full Version)


บันทึกการประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและติดตามงานกับนักวิจัย ภายใต้แผนงานริเริ่มสำคัญ (Flagship)
\”ชุมชนนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน\” ประจําปี 2564 โปรแกรมที่ 13 นวัตกรรมสําหรับเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม โดยมีกิจกรรมที่สำคัญได้แก่
1. เป้าหมายการทำงานภายใต้แผนงาน \”ชุมชนนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน\” ประจำปี 2564 โดย ดร.กิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)
2. แนวทางการดำเนินงานและติดตามงานกับนักวิจัยภายใต้แผนงานริเริ่มสำคัญ (Flagship) \”ชุมชนนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน\” ประจำปี 2564 โดย ผศ.ดร.วารุณี อริยวิริยะนันท์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี
3. กิจกรรมการเรียนรู้การบริหารแผนงานชุมชนนวัตกรรม Learning Innovation Platform และการพัฒนานวัตกร จากรณีศึกษาปี 2563 โดย รศ.ดร.เสมอ กาน้อย รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยพะเยา

บันทึกการประชุมออนไลน์ ครั้งที่ 1 : Meet \u0026 Greet (Full Version)

เก่า-ใหม่ หลงใหลอุทัยธานี


หลายคนบอกว่า “อุทัยธานี” เป็นแค่จังหวัดทางผ่าน คงไม่มีอะไรน่าดึงดูดใจ
แต่สำหรับคนที่เคยไปมาแล้ว จังหวัดเล็ก ๆ ริมแม่น้ำสะแกกรังแห่งนี้ กลับรุ่มรวยไปด้วยมรดกทางวัฒนธรรมที่ยังคงสืบทอดวิถีชีวิตของคนในอดีตสู่คนปัจจุบันได้อย่างไร้รอยต่อ นี่จึงไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะรักษาอัตลักษณ์ชุมชนดั้งเดิมในยุคที่โลกเปลี่ยนผ่านอย่างรุนแรงเช่นนี้
Research Cafe
โครงการศึกษา สำรวจ และจัดทำแผนที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าอุทัยธานี
รศ.ดร.เกรียงไกร และ ดร.อิสรชัย บูรณะอรรจน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผศ.ดร.วิลาวัณย์ ภมรสุวรรณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.researchcafe.org
researchcafe อุทัยธานี เมืองเก่า มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เก่า-ใหม่ หลงใหลอุทัยธานี

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment