การให้คำปรึกษาผู้ป่วยเรื้อรัง | ผู้ป่วยเรื้อรัง | เว็บนี้ให้ข่าวสารล่าสุดทุกวัน

You are viewing this post: การให้คำปรึกษาผู้ป่วยเรื้อรัง | ผู้ป่วยเรื้อรัง | เว็บนี้ให้ข่าวสารล่าสุดทุกวัน

Table of Contents

การให้คำปรึกษาผู้ป่วยเรื้อรัง | เว็บนี้ให้ข่าวสารล่าสุดทุกวัน.

[button color=”primary” size=”small” link=”#” icon=”” target=”false” nofollow=”false”]ชมวิดีโอด้านล่าง[/button]

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับบทความ การให้คำปรึกษาผู้ป่วยเรื้อรัง.

การให้คำปรึกษาผู้ป่วยเรื้อรัง
การให้คำปรึกษาผู้ป่วยเรื้อรัง

สามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมได้ที่นี่: อัปเดตข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมที่นี่

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ ผู้ป่วยเรื้อรัง

ผู้หญิงทำมาหากิน : หมอท็อฟฟี่ หมอสาวสวย


อ่าน “สัมภาษณ์พิเศษ” ฉบับเต็ม:
.
ตำแหน่ง “ผอ.โรงพยาบาล” ที่แบกเอาไว้ พร้อมสถานะ “นายแพทย์” แม้จะถูกล้อมไปด้วยกรอบขนาดไหน แต่เธอคนนี้ก็ยังคงทำหน้าที่ของตัวเองได้อย่างสมบูรณ์แบบ
.
สามารถพาโรงพยาบาลที่เคยวิกฤตขั้นสุด ให้รอดพ้นตัวเลขติดลบไปได้ พร้อมๆ กับการสะสมเงิน เพื่อสานฝัน “ผ่าตัดแปลงเพศ” จนเป็น “ผู้หญิงเต็มตัว” ได้สำเร็จอย่างสง่างาม
.
LIVE Style​ …ไลฟ์สไตล์บันดาลใจ ประเด็นสดใหม่เสิร์ฟมุมมอง…
.
+ fanpage: fb.com/LIVEstyleofficial
+ instagram: instagram.com/livestyle.official
+ twitter: twitter.com/livestyletweet
+ youtube: youtube.com/livestyleofficial
+ website: mgronline.com/live
.
LIVEstyle LIVEstyleofficial ไลฟ์สไตล์บันดาลใจประเด็นสดใหม่เสิร์ฟมุมมอง quote lifestyle inspiration interview ไลฟ์สไตล์ สัมภาษณ์ update hotissue ประเด็นร้อน หมอท็อฟฟี่ คุณหมอท็อฟฟี่ โรงพยาบาล โรงพยาบาลกุดข้าวปุ้น นายแพทย์ที่สวยที่สุด นายแพทย์ ผ่าตัดแปลงเพศ แปลงเพศ ศุภฤกษ์ศรีคำ ผู้หญิงข้ามเพศ lgbt

ตะลึง! "หมอท็อฟฟี่" นายแพทย์สาวสวยดีกรีผอ.โรงพยาบาล : แรงชัดจัดเต็ม 29 ก.ค. 59 [1/3]


หยก ศุภกฤกษ์ มีเพียร นักแสดงจากซี่รี่ย์วัยรุ่นดัง Love Sick แถลงโต้ซ้อมอดีต.

Take Me Out Thailand S9 ep.03 น้ำหมวดกบ (10 ต.ค. 58) รายการ เทคมีเอาท์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่9 สัปดา.

หลังจาก ครม.ไม่อนุมัติบรรจุพยาบาลวิชาชีพลูกจ้างชั่วคราว 10992 อัตราเป็น.

คนที่ดูถูกผู้อื่น เขามีปม! ผอ.รพ.สาวประเภทสอง EP.2


ในการถ่ายทำทุกเทป มีมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) เพื่อลดอัตราความเสี่ยงการติดเชื้อ (COVID19)

ติดตามช่องทางสื่อสารไบรท์ทีวี
Website :
Facebook :
Twitter :
Instagram :
Youtube :

กด Subscribe ติดตามได้ที่นี่ : เพื่อชมคลิปข่าวเด็ด, สัมภาษณ์ exclusive ก่อนใคร
ติดต่อโฆษณา โทร. 0863226363

นายแพทย์สุดสวย นายแพทย์ท็อปฟี่ คนไข้สุดแปลก

ตีสิบเดย์ ( 3 พ.ย. 61) สนทนา : ล้วงลึก นายแพทย์สาวหน้าสวย “ข้ามเพศ”


อีจันอยากเจอ หมอท็อฟฟี่สาวข้ามเพศ
กว่าจะก้าวขึ้นมาเป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาล ไม่ใช่เรื่องง่าย
เปิดใจหมอท็อฟฟี่ นายเเพทย์หน้าสวย ดีกรี ผอ.รพ. ผู้พิสูจน์ให้ทุกคนรู้ เพศสภาพไม่เคยปิดกั้นความฝัน!
หมอท็อฟฟี่ สาวข้ามเพศคิดบวก ผู้อำนวยการโรงพยาบาล โรงพยาบาลกุดข้าวปุ้น

อย่าลืมกดติดตาม และกดกระดิ่งกันเยอะๆ นะคะ
Youtube :

ติดตามอีจัน ช่องทางอื่นได้ที่
Facebook :
Twitter :
Website :

อีจัน ข่าว ข่าวเด็ด ประเด็นร้อน ข่าวสด ข่าวรายวัน เรื่องเด่น ข่าวดัง สอบสวน สืบสวน ไขปริศนา ความจริง ข่าวอีจัน

หลักการดูแลจิตใจผู้ป่วยเรื้อรังและระยะสุดท้ายโดยชุมชนมีส่วนร่วม


หลักการดูแลจิตใจผู้ป่วยเรื้อรังและระยะสุดท้าย


ผู้ป่วยเรื้อรังบางโรค สามารถลงทะเบียนรักษาทางไกลได้ เพื่อลดการไปโรงพยาบาล จะได้ไม่ต้องเสี่ยงไปรับเชื้อโรคนะครับ

รู้ทันโควิด ข่าวช่อง8 ใครๆก็ดูช่อง8กดเลข27 ข่าวช่อง8เข้าใจง่ายเชื่อถือได้

ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังควรออกกำลังกายอย่างไร : ปรับก่อนป่วย (27 พ.ย. 62)


5วิธีแก้ไขความเครียดจากการป่วยเรื้อรัง

มนุษย์ทุกคนมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยกันทั้งนั้น เพียงแต่ต่างโรคต่างกรรมต่างวาระกันไปนั่นเอง เช่นรับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคไขมันในเลือสูง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตวาย และโรคทางจิตเวช ซึ่งแตกต่างกันออกไปตามเหตุปัจจัยของแต่ละคน แต่สิ่งที่สำคัญทางใจก็คือเมื่อได้รับการวินิจฉัยว่าป่วย การเป็นผู้ที่มีสุขภาพจิตดีจะช่วยให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ทั้งยังส่งผลดีต่อการ ป่วยนั้นให้ทุเลาลงได้เป็นอย่างดี วิธีป้องกันความเครียดจากอาการป่วยเรื้อรังมีห้าข้อดังต่อไปนี้

1.ยอมรับและปรับใจ เมื่อได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่งแล้ว สิ่งที่สำคัญคือเราต้องยอมรับและปรับใจให้ได้ว่าการป่วยเป็นเรื่องธรรมดาของชีวิตมนุษย์ และเราก็เลือกไม่ได้ว่าเราจะป่วยอะไรเป็นเรื่องของเหตุปัจจัยทั้งภายในภายนอกที่มองเห็นและมองไม่เห็น แต่สิ่งที่สำคัญคือต้องยอมรับและปรับใจยอมรับให้ได้ เมื่อทำใจได้จะนำไปสู่การคลี่คลายด้วยหลักการอื่นที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

2.มีสายสัมพันธ์ที่เกื้อหนุน เมื่อรู้ว่าเราป่วยเรื้อรังด้วยโรคใดโรคหนึ่ง เราควรหาสายสัมพันธ์ที่เกื้อหนุนโดยเฉพาะชมรมสมาคมในผู้ป่วยโรคเดียวกัน เพราะจะได้มีโอกาสแบ่งปันความรู้และให้กำลังใจซึ่งกันและกัน กระทั่งในแง่ของปรัชญาเมื่อเรารู้เราเห็นว่าเราไม่ได้ป่วยด้วยโรคนี้อยู่เพียงลำพังมีคนอื่นอีกมากมายที่เจ็บป่วยด้วยเช่นกันจะทำให้เราคลายทุกข์ใจไปได้ในที่สุด

3. เห็นคุณค่าของชีวิต โดยทั่วไปผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยด้วยโรคเรื้อรังระยะแรก มักจะตกใจท้อแท้หดหู่และไม่อยากต่อสู้ชีวิต แต่การเห็นคุณค่าของการมีชีวิตอยู่แม้จะเป็นผู้ป่วยนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่ง การมีชีวิตอยู่มีคุณค่าต่อบุคคลในครอบครัวสังคมและคนที่เรารัก กระทั่งบางคนก็ยังสามารถประกอบวิชาชีพที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมได้อยู่เช่นกัน ดังนั้นรักษาตัวไปด้วยและเห็นคุณค่าของตนด้วย จึงเป็นอีกหลักการหนึ่งที่จะช่วยให้มีพลังใจในการต่อสู้โรคต่างๆที่ป่วยอยู่

4. เปิดจิตยอมรับการรักษา ในวงการแพทย์พบมากมายว่าผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยด้วยโรคเรื้อรังแล้วปฏิเสธรับการรักษาหรือรับษาก็รักษาไม่ต่อเนื่องและไม่ตั้งใจ ทั้งนี้อาจเกิดจากขาดการเห็นคุณค่าในตนเองชีวิตไร้ความหมายไร้ความหวังนั่นเอง แต่สำหรับคนที่เปิดจิตใจยอมรับการรักษาแม้จะต้องรับประทานยาตลอดชีวิต จะช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตให้เข้มแข็งและดีขึ้นตามลำดับได้ เช่นติดเชื้อเอชไอวี โรคหัวใจ ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคจิตเป็นต้น

5. แสวงหาความสงบทางจิตใจ แม้ว่าร่างกายเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ แต่จิตใจนั้นสามารถมีความสงบสุขได้ ดังนั้นผู้ป่วยเรื้อรังพึงแสวงหาความสงบสุขทางด้านจิตใจ อาจด้วยการทำกิจกรรมนันทนาการที่ตนเองชื่นชอบเช่นดูหนังฟังเพลงเล่นหมากฮอสหรืออื่นๆที่ไม่ขัดต่อโรคที่ป่วยด้านร่างกาย รวมไปถึงการปฏิบัติศาสนกิจและศึกษาศาสนธรรมในศาสนาที่แต่ละคนนับถือ สำหรับชาวพุทธก็สามารถเจริญสติเจริญสมาธิภาวนา จะช่วยรักษาจิตใจให้เข้มแข็ง ทั้งยังส่งผลดีต่อการทุเลาอาการปวดด้านร่างกายได้อีกด้วย

หากผู้ป่วยเรื้อรังทุกคนสามารถปฏิบัติได้ห้าข้อดังกล่าวคือ ยอมรับและปรับใจ มีสายใยเกื้อหนุน เห็นคุณค่าของชีวิต เปิดจิตยอมรับการรักษา และแสวงหาความสงบทางจิตใจ จะช่วยลดความเครียดไดเป็นอย่างดี กระทั่งปรับตัวยอมรับและร่วมมือในการรักษาซึ่งจะส่งผลดีต่อทั้งสุขภาพกายและสุขภาพใจของตนเองได้ดีเป็นอย่างดีนั่นเอง. ทั้งนี้หากท่านมีความเครียดด้วยเรื่องใดใดก็แล้วแต่สามารถโทรศัพท์ปรึกษาได้ที่ฮอตไลน์สายด่วนกรมสุขภาพจิตหมายเลขโทรศัพท์ 1323 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

ช่อง: Wuttipong สุขภาพจิตและพัฒนาบุคลากร

การเจ็บป่วยเรื้อรัง และ การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ( Chronic Illness ) รามา Channel


แอดไลน์ เพื่อรับข่าวสารสุขภาพ Line : @GEL88 หรือคลิกที่นี่ค่ะ
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมดูแลผู้ป่วยโรคไต โทร : 0971266110
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมผ่านเว็บไซต์

ผักอะไรที่ป่วยโรคไตทานได้บ้าง

ผลไม้อะไรที่ป่วยโรคไตทานได้

อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง

ความรู้ดูแลผู้ป่วยโรคไต

เมนูอาหารผู้ป่วยโรคไต ทำเองได้

ไตเสื่อม โรคไต ดูแลผู้ป่วยไต

>>เรา เราหวังว่าข้อมูลนี้จะมีคุณค่าอย่างยิ่งสำหรับคุณ ขอบคุณมากที่รับชม.

แท็กเกี่ยวข้องกับบทความผู้ป่วยเรื้อรัง.

#การใหคำปรกษาผปวยเรอรง

[vid_tags]

การให้คำปรึกษาผู้ป่วยเรื้อรัง

ผู้ป่วยเรื้อรัง.

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment