จริยธรรมการวิจัยในคน EP.1 วิวัฒนาการของจริยธรรมการวิจัยในคน | คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน

You are viewing this post: จริยธรรมการวิจัยในคน EP.1 วิวัฒนาการของจริยธรรมการวิจัยในคน | คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน

จริยธรรมการวิจัยในคน EP.1 วิวัฒนาการของจริยธรรมการวิจัยในคน


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

จริยธรรมการวิจัยในคน EP.1 วิวัฒนาการของจริยธรรมการวิจัยในคน

ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการเขียนเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมวิจัย ในการขอจริยธรรมการวิจัย/ผศ.ดร.อาภาภัคภิญโญ


การขอรับรองจริยธรรมการวิจัยเป็นขั้นตอนสำคัญที่จะต้องดำเนินการก่อนลงมือเก็บข้อมูล จากประสบการณ์ที่เป็นกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน (IRB) พบว่านักวิจัยที่ส่งเอกสารมาให้พิจารณา มีความผิดพลาดบ่อยๆ ทำให้ต้องแก้ไขกลับไปกลับมา คลิปนี้แนะนำวิธีป้องกันความผิดพลาดที่เกิดขึ้นบ่อยๆในการเขียนเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมวิจัย หรือ Participant Information Sheet ซึ่งมี 5 ข้อ
1.ภาษาที่ใช้เข้าใจยาก
2.เขียนไม่ครบถ้วน
3.ใช้สรรพนามไม่ถูกต้องหรือไม่คงที่
4.ตัวอักษรเล็ก อ่านยาก
5.ทำเอกสารตามเครื่องมือหรือวิธีเก็บข้อมูล
Thesis EP.54 IRB EP.5 เอกสารชี้แจงผู้ร่วมวิจัย ขอจริยธรรม วิทยานิพนธ์
ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ ช่อง “คลินิกผู้นำ”
อาจารย์มหาวิทยาลัย วิทยากร ผู้บริหาร มีประสบการณ์ในการสอนและทำงานกว่า 30 ปี
ยินดีสอนบรรยาย และเป็นที่ปรึกษา เกี่ยวกับ วิทยานิพนธ์ วิจัย, R to R
Public speaking, พฤติกรรมบริการ
รับให้คำปรึกษาการทำคลิปวิชาการ คลิปให้ความรู้
รับบริจาคสนับสนุนค่าอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายในการทำคลิป บัญชีธนาคารกรุงไทย
นางอาภา ภัคภิญโญ 0880054166
ติดต่อ
[email protected]
Line ID: apayoung
https://www.facebook.com/ApaPuckpinyo FB คลินิกผู้นำ
https://www.facebook.com/AjarnApa FB คลินิกวิทยานิพนธ์
เผยแพร่คลิปทุก อังคาร พฤหัส และเสาร์

ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการเขียนเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมวิจัย ในการขอจริยธรรมการวิจัย/ผศ.ดร.อาภาภัคภิญโญ

วิธีออกแบบการวิจัยเพื่อลดความคลาดเคลื่อนโดยใช้หลักMaxMinCon: Maximization /ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ


การวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์นั้น ต้องการให้ได้ผลการวิจัยที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด ดังนั้นจึงต้องออกแบบการวิจัยให้ลดความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น หรือลดการเบี่ยงเบนผลการวิจัยไปจากความเป็นจริง
โดยทั่วไปจะใช้หลัก Max Min Con ซึ่งคลิปนี้อธิบายหลัก Max คือ Maximization of systematic variance คือการทำให้ตัวแปรที่ศึกษามีความเด่นชัด หรือโดดเด่น หรือแตกต่างมากที่สุด Thesis EP.34 วิธีลดerrorวิจัย MaxMinCon วิทยานิพนธ์
ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ ช่อง @คลินิกผู้นำ
อาจารย์มหาวิทยาลัย วิทยากร ผู้บริหาร มีประสบการณ์ในการสอนและทำงานกว่า 30 ปี
ยินดีสอนบรรยาย และเป็นที่ปรึกษา เกี่ยวกับ วิทยานิพนธ์ วิจัย R to R
Public speaking พฤติกรรมบริการ
รับให้คำปรึกษาการทำคลิปวิชาการ คลิปให้ความรู้
รับบริจาคสนับสนุนค่าอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายในการทำคลิป บัญชีธนาคารกรุงไทย
นางอาภา ภัคภิญโญ 0880054166
ติดต่อ
[email protected]
Line ID: apayoung
https://www.facebook.com/ApaPuckpinyo FB คลินิกผู้นำ
https://www.facebook.com/AjarnApa FB คลินิกวิทยานิพนธ์
เผยแพร่คลิปทุก อังคาร พฤหัส และเสาร์

วิธีออกแบบการวิจัยเพื่อลดความคลาดเคลื่อนโดยใช้หลักMaxMinCon: Maximization /ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ

ขั้นตอนการเตรียมเอกสารคำชี้แจงสำหรับอาสาสมัครการวิจัยเพื่อยื่นข้อพิจารณาจริยธรรมการวิจัย


สำนักงานจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศษสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับขั้นตอนการเตรียมเอกสารคำชี้แจงสำหรับอาสาสมัครการวิจัยเพื่อยื่นข้อพิจารณาจริยธรรมการวิจัย

ขั้นตอนการเตรียมเอกสารคำชี้แจงสำหรับอาสาสมัครการวิจัยเพื่อยื่นข้อพิจารณาจริยธรรมการวิจัย

มจธ.ประชุมและปฐมนิเทศ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ครั้งที่ 1/2560


งานจรรยาบรรณวิจัยและธรรมาภิบาล สำนักงานวิจัยนวัตกรรมและพันธมิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้จัดประชุมและปฐมนิเทศคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ครั้งที่ 1/2560 โดยมี รศ.ดร.วนิดา พวกุล ประธานคณะกรรมการ กล่าวเปิดการประชุม ในการประชุมครั้งนี้ได้เชิญ ศ.พญ.พรรณแข มไหสวริยะ ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหิดล มาให้ความรู้แก่คณะกรรมการฯ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มีหน้าที่กำกับดูแลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ของมหาวิทยาลัย โดยคำนึงถึงหลักจริยธรรมในการดำเนินการวิจัย การคุ้มครองสิทธิ ความปลอดภัยและความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบเชิงลบต่อผู้เข้าร่วมวิจัย การประชุมและปฐมนิเทศครั้งนี้ เพื่อให้คณะกรรมการได้มีความพร้อมที่จะดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามหลักสากล อันจะเป็นการส่งเสริมการวิจัยของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์มาตรฐานการวิจัยในระดับสากลต่อไป
ข้อมูลจากhttps://www.facebook.com/BangmodNews
http://www2.kmutt.ac.th/

มจธ.ประชุมและปฐมนิเทศ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ครั้งที่ 1/2560

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆGENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment