ชนิดของพลาสติก | สัญลักษณ์ รีไซเคิล

You are viewing this post: ชนิดของพลาสติก | สัญลักษณ์ รีไซเคิล

ชนิดของพลาสติก


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ชนิดของพลาสติก
การจัดการขยะมูลฝอย ENES 221
ผศ.ดร.อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ชนิดของพลาสติก

TOYOTA FORTUNER แปลงหน้าฟอร์จูนเนอร์ GR Ep.4


toyota fortuner 2.4 v แต่งหน้าเป็น fortuner Gr sport
ราคา 1,466,000 แปลงเป็นรุ่น 1,879,000
แปลงหน้า GR ฟรี
แต่งครบจบที่โคราช 1988 อะไหล่แท้ toyota
(อุ้ม)
📲:0851021463
https://line.me/ti/p/3roDdaCg0o
(เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทฯกำหนด)

TOYOTA FORTUNER แปลงหน้าฟอร์จูนเนอร์ GR Ep.4

สัญลักษณ์​รีไซเคิล​ -​7OTHER​- |เคมี​ ม.6|


สัญลักษณ์​รีไซเคิล​เราได้รับหัวข้อ​OTHER​นั้น​คือ​หมายเลข​7​ คลิปนี้เป็นส่วยหนึ่งของรายวิขาเคมี5​ ชั้นมัธยมศึกษา​ปี​ที่​6​

สมาชิก
1.นางสาวจุธามาศ​ ฤ​า​โสภา
https://www.facebook.com/profile.php?id=100015843723620
2.นางสาวสุทธิ​ดาภรณ์​ ทุม​รินทร์
https://www.facebook.com/profile.php?id=100017917839696
3.นางสาวธาราชล​ เวฬุพล
https://www.facebook.com/profile.php?id=100005730404683
4.นางสาววรัญ​ญา​ รินทอง
https://www.facebook.com/waranya.rintong.5

ขอบคุณ​ที่รับชมนะคะ

สัญลักษณ์​รีไซเคิล​ -​7OTHER​- |เคมี​ ม.6|

หัวรถจักรไม่มี\”ส้วม\” คนขับรถไฟ\”อึ\”ที่ใหน


อย่าลืมกดติดตามด้วยนะครับ

หัวรถจักรไม่มี\

สัญลักษณ์รีไซเคิลพลาสติก


รีไซเคิล (Recycle)
เป็นการจัดการวัสดุเหลือใช้ที่กำลังจะเป็นขยะ โดยนำไปผ่านกระบวนการแปรสภาพ โดยเฉพาะการหลอม เพื่อให้เป็นวัสดุใหม่แล้วนำกลับมาใช้ได้อีก ซึ่งวัสดุที่ผ่านการแปรสภาพนั้นอาจจะเป็นผลิตภัณฑ์เดิมหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ก็ได้ รีไซเคิลมีความหมายต่างจาก รียูส (Reuse) ซึ่งหมายถึง การนำกลับมาใช้ใหม่โดยไม่ผ่านกระบวนการแปรสภาพใดๆทั้งสิ้น
โดยที่พลาสติกที่สามารถใช้ในการรีไซเคิลนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 7 ประเภท ดังนี้
\”เบอร์ 1 หมายถึง โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (PET)\”
เป็นพลาสติกที่เหมาะสำหรับใส่น้ำอัดลม หรือน้ำมันเนื่องมาจากความใส มีความยืดหยุ่นสูงและป้องกันการซึมผ่านได้ พลาสติกชนิดโพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (PET) สามารถนำมารีไซเคิลเป็น เส้นใย สำหรับทำเสื้อกันหนาว พรม ใยสังเคราะห์สำหรับยัดหมอน ถุงหูหิ้ว กระเป๋า ขวด

\”เบอร์ 2 หมายถึงโพลิเอทิลินชนิดความหนาแน่นสูง (HDPE)\”
เป็นพลาสติกที่เหมาะสำหรับทำถุงหิ้ว ขวดน้ำดื่ม หรือถังน้ำ เป็นต้น เพราะว่ามีความยืดหยุ่นสูงและป้องกันการซึมผ่านได้ดี โพลิเอทิลินชนิดความหนาแน่นสูงสามารถนำมารีไซเคิลเป็น ขวดใส่น้ำยาซักผ้า ขวดน้ำมันเครื่อง ท่อ ลังพลาสติก ไม้เทียมเพื่อใช้ทำรั้วหรือม้านั่งในสวน
\”เบอร์ 3 หมายถึงโพลิไวนิลคลอไรด์ (PVC)\”
เป็นพลาสติกที่เหมาะสำหรับใช้ทำท่อน้ำ ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า กระเป๋าหนังเทียม ประตูพีวีซี เป็นต้น PVC มีคุณสมบัติแข็งแรง ทนสารเคมี สามารถทำเป็นสีได้ไม่จำกัด และทนน้ำได้ดี พลาสติกชนิดโพลิไวนิลคลอไรด์ สามารถนำมารีไซเคิลเป็น ท่อน้ำประปาหรือรางน้ำสำหรับการเกษตร กรวยจราจร เฟอร์นิเจอร์ ม้านั่งพลาสติก ตลับเทป เคเบิล แผ่นไม้เทียม
\”เบอร์ 4 หมายถึง โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำ (LDPE)\”
เป็นพลาสติกที่เหมาะสำหรับนำมาเป็นถึงเย็น ถึงใส่อาหารแช่แข็ง เพราะมีความยืดหยุ่นสูง เหนียว ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี พลาสติกชนิดนี้ไม่เหมาะที่จะบรรจุอาหารร้อน พลาสติกชนิดโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำสามารถนำมารีไซเคิลเป็น ถุงดำสำหรับใส่ขยะ ถุงหูหิ้ว ถังขยะ กระเบื้องปูพื้น เฟอร์นิเจอร์ แท่งไม้เทียม
\”เบอร์ 5 หมายถึง โพลิโพรพิลีน (PP)\”
เป็นพลาสติกที่เหมาะสำหรับทำถุงร้อนบรรจุอาหาร หรือผลิตกล่องบรรจุอาหารสำหรับนำเข้าไมโครเวฟ เพราะมีความยืดหยุ่นสูง ทนสารเคมี และสามารถใช้งานกับอุณหภูมิที่สูงถึง 175 องศาเซลเซียส พลาสติกชนิดโพลิโพรพิลีน สามารถนำมารีไซเคิลเป็น กล่องแบตเตอรี่ในรถยนต์ ชิ้นส่วนรถยนต์ เช่น กันชนและกรวยสำหรับน้ำมัน ไฟท้าย ไม้กวาดพลาสติก แปรง
\”เบอร์ 6 หมายถึง โพลิสไตรีน (PS)\”
เป็นพลาสติกที่เหมาะสำหรับทำเป็น โฟม กล่อง ถ้วย และจาน เนื่องจากง่ายต่อการขึ้นรูป สามารถพิมพ์สีสัน และลวดลายให้สวยงามได้ และสามารถใช้งานกับอุณหภูมิตั้งแต่ 10 องศาเซลเซียส ถึง 80 องศาเซลเซียส พลาสติกชนิดโพลิสไตรีน สามารถนำมารีไซเคิลเป็นไม้แขวนเสื้อ กล่องวิดีโอ ไม้บรรทัด กระเปาะเทอร์โมมิเตอร์ แผงสวิตช์ไฟ ฉนวนความร้อน ถาดใส่ไข่ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
\”เบอร์ 7 หมายถึงสัญลักษณ์สำหรับพลาสติกอื่น ๆ (OTHER)\” หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำจากพลาสติกหลายชนิด
https://didath.com
https://thaiplasticshop.com
https://ถังขยะถังขยะ.net
https://ถังขยะแยกประเภท.net

สัญลักษณ์รีไซเคิลพลาสติก

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่BUSINESS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: BUSINESS

Leave a Comment