ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! #อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!! | พร บ คุ้มครอง แรงงาน มาตรา 118

You are viewing this post: ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! #อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!! | พร บ คุ้มครอง แรงงาน มาตรา 118

ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! #อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!!


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!!
ปัญหาหนังชีวิต…กับการงานที่เราว่ามั่นคง
แต่!มันไม่มั่นคงถูกให้ออกซะงั้น
ยิ่งตอนนี้จิ้มคนออกกันเป็นว่าเล่น หลายๆบริษัทปิดตัวลง
เครียดกันเลยทีเดียว…
เราควรรู้ไว้ไม่ให้โดน \”นายจ้างหัวหมอ\” และ \”ผู้รู้กฎหมายหัวหมอของบริษัท\”เอาเปรียบเราลูกจ้างตาดำๆ
มีลูกไว้บอกลูก! มีหลานไว้บอกหลาน! มีพ่อไว้บอกพ่อ! มีแม่ไว้บอกแม่!
ติดตามกันเลย
รู้ไว้ไม่ชีช้ำ แชร์วนวนไป ขอบคุณทุกๆไลค์และแชร์ เลิกจ้าง ทนายคู่ใจคลายทุกข์
ติดตามทาง FB : ทนายคู่ใจ คลายทุกข์

ตกงาน!! ถูกเลิกจ้าง!! #อย่ามาหัวหมอกับเรานะนายจ้าง ฉันทำอะไรผิด!!

สรพ.6 เสนอเรื่อง การเกษียณอายุของพนักงาน ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่


นางระพีพรรณ รัตนบริหาร ผู้อำนวยการสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 6 ดำเนินการสร้างนวัตกรรม “1คำถาม มีคำตอบ กับสรพ.6” ตอนที่ 8 เรื่อง การเกษียณอายุของพนักงาน ตามมาตรา 118/1 พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2560 (แก้ไขใหม่) เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่ผู้ใช้แรงงานและประชาชนทั่วไป โดยกำหนดเผยแพร่ทางสื่อ facebook : สนง.สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่หก และกลุ่ม Line เครือข่ายของ สรพ.6 ในทุกวันจันทร์ พร้อมทั้งให้ประชาชนทั่วไปที่ประสงค์อยากทราบข้อกฎหมาย สามารถตั้งคำถามผ่านทางช่องทางการให้บริการดังกล่าวได้ด้วย

สรพ.6 เสนอเรื่อง การเกษียณอายุของพนักงาน ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 118 #อ่านกฎหมายปันกันฟัง


ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 118 #อ่านกฎหมายปันกันฟัง

สิทธิตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน


นายจ้าง ลูกจ้างต้องรู้ !
กับสิทธิตามกฎหมายคุ้มครองเเรงงาน
กฎหมายคุ้มครองเเรงงาน ลูกจ้าง มีสิทธิอะไรบ้าง ?
ใครไม่รู้สิทธิตัวเอง เปิดดูคลิปนี้…. จบทุกเรื่อง
ติดต่อสอบถามสายด่วนกระทรวงแรงงาน 1506 กด 3 กรมสวัสดิการแลคุ้มครองแรงงาน

สิทธิตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

ลูกจ้างต้องได้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง #สิทธิลูกจ้าง #ค่าชดเชย #กฎหมายแรงงาน #เลิกจ้าง #mfinance


ลูกจ้างต้องรู้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง สิทธิลูกจ้าง ค่าชดเชย กฎหมายแรงงาน เลิกจ้าง mfinance ช่องเอ็ม mfoodtv นายจ้าง กระทรวงแรงงาน ประกันสังคม จัดหางาน
เครดิตข้อมูล : กระทรวงแรงงาน, ธรรมนิติ
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าชดเชย
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 118 ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้าง ดังต่อไปนี้
1) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่ำจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 30 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
2) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่ำจ้างของการทำงาน 90 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
3) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 180 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
4) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 240 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 240 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
5) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 300 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 300 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
6) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400
วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของกการทำงาน 400 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

ลูกจ้างต้องได้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง #สิทธิลูกจ้าง #ค่าชดเชย #กฎหมายแรงงาน #เลิกจ้าง #mfinance

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆINVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment