ต้นฉบับภาพวาดฝีพระหัตถ์ “ในหลวง ร.9” จัดแสดงหออัครศิลปิน – Springnews | ภาพฝีพระหัตถ์ ร.9

You are viewing this post: ต้นฉบับภาพวาดฝีพระหัตถ์ “ในหลวง ร.9” จัดแสดงหออัครศิลปิน – Springnews | ภาพฝีพระหัตถ์ ร.9

ต้นฉบับภาพวาดฝีพระหัตถ์ “ในหลวง ร.9” จัดแสดงหออัครศิลปิน – Springnews


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

นิทรรศการภาพวาดฝีพระหัตของ ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ทั้งองค์จริง และสำเนา ได้ถูกนำมาจัดแสดงไว้ ภายในหออัครศิลปิน คลอง 5 จังหวัดปทุมธานี ได้เปิดประชาชนได้ชื่นชมในพระอัฉริยภาพแล้ว ติดตามได้จากรายงาน
ติดต่อโฆษณา โทร.026206738
ติดตามรายงานพิเศษตอนอื่นๆได้ที่ http://www.springnews.co.th/scoop
ติดตาม สปริงนิวส์ ผ่านเว็บไซต์ได้ที่ http://www.springnews.co.th
รับชมสปริงนิวส์ผ่าน DigitalTV ช่อง 19 และ จานดาวเทียมช่อง 29
ติดตามสปริงนิวส์เพิ่มเติมได้ที่
Website : http://www.springnews.co.th
Facebook : https://www.facebook.com/SpringNewsTV
Twitter : https://twitter.com/SpringNews_TV
Instagram : https://www.instagram.com/springnewstv/
Youtube Channel : https://www.youtube.com/user/springnewsonline

ต้นฉบับภาพวาดฝีพระหัตถ์ “ในหลวง ร.9” จัดแสดงหออัครศิลปิน - Springnews

รายการสานต่อที่พ่อทำ ตอนจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 9 EP.2


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระปรีชาสามารถหลากหลายด้าน อย่างที่เราพสกนิกรชาวไทยทราบกันดี โดยเฉพาะในด้านศิลปะทุกแขนง ทั้งดนตรี จิตรกรรม และถ่ายภาพ
ถ้าจะกล่าวถึงศิลปกรรมในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จิตรกรรม เป็นศิลปะอีกประเภทหนึ่งที่พระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยมาก กระทั่งได้ทรงฝึกฝนเขียนภาพด้วยพระองค์เอง และทรงศึกษาจากตำราต่าง ๆ ทั้งที่ทรงซื้อด้วยพระองค์เองและที่มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวาย
จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ของพระองค์เท่าที่ปรากฏ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ ภาพแบบเหมือนจริง (Realistic) ภาพแบบคตินิยมแบบเอ็กซ์เพรสชั่นนิสต์ (Expressionism) และที่ได้เห็นกันช่วงหลังเป็นศิลปะแบบนามธรรม (Abstractionism) จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ซึ่งแบ่งออกเป็นแนวทางต่าง ๆ ดังกล่าวนั้น มิได้หมายความว่า พระองค์ทรงเขียนตามวิธีการในศิลปะนั้น หากแต่ลักษณะการแสดงออกเป็นไปในแบบอย่างที่ใกล้เคียงกัน
เทคนิคที่ทรงใช้มากในการเขียนภาพคือ เทคนิคสีน้ำมันบนผ้าใบ พระองค์รับสั่งเกี่ยวกับการเขียนภาพของพระองค์ว่าทรงวาดเอง มิได้ทรงปล่อยให้แบบหรือแนวทางของผู้ใดเข้ามามีอิทธิพลต่อกับงานเขียนภาพ และในการวาดภาพนั้น ก็ทรงวาดอย่างนักวาดภาพสมัครเล่น คือ ทรงวาดตามที่พระราชหฤทัยนึกจะวาด มิได้ทรงคำนึงถึงทฤษฎีหรือกฎเกณฑ์อันใด ผลงานของพระองค์ท่านออกมาจากพระจินตนาการของพระองค์เอง ฉะนั้น เมื่อชมภาพเขียนฝีพระหัตถ์ก็จะเห็นชัดแจ้งถึงลักษณะที่เป็นอิสระ เฉพาะตัว
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงงานจิตรกรรมตั้งแต่ขึ้นครองราชย์จนถึงราว ๆ พุทธศักราช 2510 ก็มิได้ทรงเขียนภาพอีก เพราะทรงมีพระราชภารกิจด้านอื่นที่ต้องทรงเอาพระราชหฤทัยใส่เพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม ทรงอุทิศเวลาส่วนใหญ่เพื่อประชาชน เสด็จฯ ทรงเยี่ยมราษฎรและทรงเข้าร่วมแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎร ทรงมีพระราชดำริให้จัดตั้งโครงการพัฒนาในด้านต่าง ๆ อีกจำนวนมาก เพื่อให้พสกนิกรของพระองค์มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นกว่าเดิม แต่ถึงแม้พระองค์จะมิได้ทรงงานจิตรกรรมเพิ่มเติม ก็ปรากฏว่ามีภาพจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ที่เผยแพร่แล้วจำนวน 47 ภาพ และที่ยังไม่เคยเผยแพร่อีกจำนวนประมาณ 60 ภาพ
ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ไบรท์ออนไลน์ขออัญเชิญ “จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 9” บางส่วนมาให้ทุกท่านได้ชื่นชม เพื่อน้อมรำลึกถึงพระองค์ท่าน

รายการสานต่อที่พ่อทำ ตอนจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 9 EP.2

รายการสานต่อที่พ่อทำ ตอนภาพถ่ายฝีพระหัตถ์\”ในหลวงรัชกาลที่ 9\” EP.1


“…การถ่ายรูปเป็นงานศิลปะ เป็นของดีมีประโยชน์ ขออย่าให้ถ่ายรูปกันเพื่อความสนุกสนานหรือความสวยงามเท่านั้น จงใช้ภาพให้เกิดคุณค่าต่อสังคม ให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม งานศิลปะจะได้ช่วยพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าได้อีกแรงหนึ่ง…” พระราชดำรัสเกี่ยวกับการถ่ายภาพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

รายการสานต่อที่พ่อทำ ตอนภาพถ่ายฝีพระหัตถ์\

รายการสานต่อที่พ่อทำ ตอนจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 9 EP.1


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระปรีชาสามารถหลากหลายด้าน อย่างที่เราพสกนิกรชาวไทยทราบกันดี โดยเฉพาะในด้านศิลปะทุกแขนง ทั้งดนตรี จิตรกรรม และถ่ายภาพ
ถ้าจะกล่าวถึงศิลปกรรมในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จิตรกรรม เป็นศิลปะอีกประเภทหนึ่งที่พระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยมาก กระทั่งได้ทรงฝึกฝนเขียนภาพด้วยพระองค์เอง และทรงศึกษาจากตำราต่าง ๆ ทั้งที่ทรงซื้อด้วยพระองค์เองและที่มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวาย
จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ของพระองค์เท่าที่ปรากฏ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ ภาพแบบเหมือนจริง (Realistic) ภาพแบบคตินิยมแบบเอ็กซ์เพรสชั่นนิสต์ (Expressionism) และที่ได้เห็นกันช่วงหลังเป็นศิลปะแบบนามธรรม (Abstractionism) จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ซึ่งแบ่งออกเป็นแนวทางต่าง ๆ ดังกล่าวนั้น มิได้หมายความว่า พระองค์ทรงเขียนตามวิธีการในศิลปะนั้น หากแต่ลักษณะการแสดงออกเป็นไปในแบบอย่างที่ใกล้เคียงกัน
เทคนิคที่ทรงใช้มากในการเขียนภาพคือ เทคนิคสีน้ำมันบนผ้าใบ พระองค์รับสั่งเกี่ยวกับการเขียนภาพของพระองค์ว่าทรงวาดเอง มิได้ทรงปล่อยให้แบบหรือแนวทางของผู้ใดเข้ามามีอิทธิพลต่อกับงานเขียนภาพ และในการวาดภาพนั้น ก็ทรงวาดอย่างนักวาดภาพสมัครเล่น คือ ทรงวาดตามที่พระราชหฤทัยนึกจะวาด มิได้ทรงคำนึงถึงทฤษฎีหรือกฎเกณฑ์อันใด ผลงานของพระองค์ท่านออกมาจากพระจินตนาการของพระองค์เอง ฉะนั้น เมื่อชมภาพเขียนฝีพระหัตถ์ก็จะเห็นชัดแจ้งถึงลักษณะที่เป็นอิสระ เฉพาะตัว
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงงานจิตรกรรมตั้งแต่ขึ้นครองราชย์จนถึงราว ๆ พุทธศักราช 2510 ก็มิได้ทรงเขียนภาพอีก เพราะทรงมีพระราชภารกิจด้านอื่นที่ต้องทรงเอาพระราชหฤทัยใส่เพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม ทรงอุทิศเวลาส่วนใหญ่เพื่อประชาชน เสด็จฯ ทรงเยี่ยมราษฎรและทรงเข้าร่วมแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎร ทรงมีพระราชดำริให้จัดตั้งโครงการพัฒนาในด้านต่าง ๆ อีกจำนวนมาก เพื่อให้พสกนิกรของพระองค์มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นกว่าเดิม แต่ถึงแม้พระองค์จะมิได้ทรงงานจิตรกรรมเพิ่มเติม ก็ปรากฏว่ามีภาพจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ที่เผยแพร่แล้วจำนวน 47 ภาพ และที่ยังไม่เคยเผยแพร่อีกจำนวนประมาณ 60 ภาพ
ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ไบรท์ออนไลน์ขออัญเชิญ “จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 9” บางส่วนมาให้ทุกท่านได้ชื่นชม เพื่อน้อมรำลึกถึงพระองค์ท่าน

รายการสานต่อที่พ่อทำ ตอนจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 9 EP.1

ยลโฉมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ร 9 ทรงอัดรูปออกมาเองทุกขั้นตอน


ยลโฉมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ร 9 ทรงอัดรูปออกมาเองทุกขั้นตอน

ยลโฉมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ร 9 ทรงอัดรูปออกมาเองทุกขั้นตอน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่INVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment