บทสวดมนต์ตอนเช้า รวมบทสวดมนต์ เพื่อความร่ำรวย ราวปาฏิหาริย์ เรียกเงิน เรียกทอง | การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

You are viewing this post: บทสวดมนต์ตอนเช้า รวมบทสวดมนต์ เพื่อความร่ำรวย ราวปาฏิหาริย์ เรียกเงิน เรียกทอง | การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

บทสวดมนต์ตอนเช้า รวมบทสวดมนต์ เพื่อความร่ำรวย ราวปาฏิหาริย์ เรียกเงิน เรียกทอง


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

บทสวดมนต์ตอนเช้า รวมบทสวดมนต์ เพื่อความร่ำรวย ราวปาฏิหาริย์ เรียกเงิน เรียกทอง
บทสวดมนต์ตอนเช้า รวมบทสวดมนต์ เพื่อความร่ำรวย ราวปาฏิหาริย์ เรียกเงิน เรียกทอง
บทสวดมนต์ตอนเช้า รวมบทสวดมนต์ เพื่อความร่ำรวย ราวปาฏิหาริย์ เรียกเงิน เรียกทอง
https://youtu.be/SeqLcbcAkA8

บทสวดมนต์ตอนเช้า รวมบทสวดมนต์ เพื่อความร่ำรวย ราวปาฏิหาริย์ เรียกเงิน เรียกทอง

EconFin Talk \u0026 Share | PDPA \u0026 GDPR กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดย ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล


ทำความเข้าใจ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของไทย (Personal Data Protection Act : PDPA) พร้อมทบทวนข้อกำหนดของสหภาพยุโรปว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (General Data Protection Regulation : GDPR)
ความเป็นส่วนตัว (Privacy) เกี่ยวข้องอย่างไรกับข้อมูลส่วนบุคคล
และมีผลให้เพิ่มหรือลดความมั่นคง (Security) กับความปลอดภัย (Safety) หรือไม่
หากทำอะไรผิดพลาดไปจาก พ.ร.บ. จะโดนจับหรือไม่
ฯลฯ
หาคำตอบได้กับ EconFin Talk \u0026 Share “PDPA \u0026 GDPR กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สิทธิ หน้าที่ และความเป็นส่วนตัวในโลกดิจิทัล” โดย อาจารย์ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
⏰ พุธที่ 20 พฤษภาคม 2563

EconFin Talk \u0026 Share | PDPA \u0026 GDPR กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดย ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล

เอกสารลับปูดคนดังซุกทรัพย์! พบ \”6 ตระกูลร่ำรวยสูงสุดไทย\” ถือครอง บ.นอกอาณาเขต ใน ‘แพนโดรา เปเปอร์ส’


อิศราร่วมกับเครือข่ายผู้สื่อข่าวสืบสวนสอบสวนนานาชาติ ไอซีไอเจ (International Consortium of Investigative Journalists: ICIJ)
เปิดฐานข้อมูล ‘แพนโดรา เปเปอร์ส’ สืบค้นรายชื่อผู้ถือครองบริษัทนอกอาณาเขต (offshore entities) ชาวไทย พบตระกูลร่ำรวยสูงสุด 6 อันดับพร้อมหน้า
สมาชิกครอบครัวซีพี เบียร์ช้าง ครองแชมป์ถือครองบริษัทจำนวนมาก หนึ่งในพื้นที่นอกอาณาเขตยอดนิยม คือ เกาะสวรรค์บริติช เวอร์จิน
การตรวจสอบข้อมูลการรายงานข่าว \”แพนโดรา เปเปอร์ส\” ของไอซีไอเจ ซึ่งสำนักข่าวอิศรา มีส่วนร่วมในการรายงานพบว่า สมาชิกตระกูลธุรกิจที่ร่ำรวยอันดับ 1 6 ของประเทศไทย พ.ศ.2564
จากการจัดอันดับของนิตยสารฟอร์บส์ ของสหรัฐอเมริกา มีความนิยมใช้บริษัทนอกอาณาเขตในการทำธุรกิจอย่างกว้างขวาง
หลายตระกูลมีสมาชิกที่ถือครองบริษัทนอกอาณาเขตอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสองรุ่น
โดยปรากฏชื่อในการรายงานข่าวจาก ฐานข้อมูลในความครอบครองของไอซีไอเจหลายครั้ง รวมทั้งในการรายงานข่าว “ปานามา เปเปอร์ส” ใน พ.ศ.2559 ตระกูลมหาเศรษฐีไทย
ที่มีจำนวนการถือครองบริษัทนอกอาณาเขตอย่างโดดเด่น ตามที่ปรากฏในฐานข้อมูลครั้งนี้ คือ สมาชิกตระกูลเจียรวนนท์ และ นายเจริญ คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี ครอบครัวมหาเศรษฐีอันดับ 1 และ 3 ของไทย
สำนักข่าวอิศรา ตระหนักดีว่า การเป็นเจ้าของบริษัทในพื้นที่นอกอาณาเขต ไม่ใช่เรื่องผิดกฎหมาย
ในขณะเดียวกันการที่ประเทศหรือพื้นที่นอกอาณาเขต เช่น ประเทศเบลิซ หรือ หมู่เกาะบริติช เวอร์จิน มีกฏหมายพิเศษในการคุ้มครอง บริษัทของนิติบุคคลหรือชาวต่างชาติ
ที่จดทะเบียนในพื้นที่ของตน ที่เอื้อประโยชน์ด้านการยกเว้นหรือการเก็บภาษีในอัตราต่ำ และเอื้อให้บริษัทสามารถสร้างกลไกในการปกปิดข้อมูลสำคัญ
โดยเฉพาะข้อมูลเกี่ยวกับ \”เจ้าของผู้รับผลประโยชน์\” หรือเจ้าของที่แท้จริงได้ การใช้บริษัทนอกอาณาเขต จึงเป็นที่นิยมของนักธุรกิจและและบุคคลกลุ่มต่างๆทั่วโลก เนื่องจากเป็นเครื่องมือลดต้นทุนด้านภาษี
และให้ความคล่องตัวในการเก็บรักษาทรัพย์สิน และการทำธุรกรรมข้ามพรมแดน รายชื่อคนไทยในฐานข้อมูลไม่ได้จำกัดเพียงตระกูลธุรกิจชื่อดัง
อย่างไรก็ตามสังเกตได้ว่า ตระกูลร่ำรวยขนาดใหญ่เหล่านี้ มีลักษณะการใช้บริษัทนอกอาณาเขตในหลายกรณี
ประการหนึ่ง คือ ใช้ในการถือครองทรัพย์สินในต่างประเทศ เช่น
การถือครองอสังหาริมทรัพย์ในประเทศอังกฤษ ของครอบครัว จุตินันท์ – หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี และครอบครัวเฉลิม อยู่วิทยา
หรือใช้ในการถือครองหุ้น ตราสาร หรือเงินสดในต่างประเทศ เช่นกรณีของ เจริญ – คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี และ เฉลิม อยู่วิทยา เป็นต้น
ลักษณะของบริษัทนอกอาณาเขตที่นิยมใช้ คือ ทรัสต์ หรือบริษัทโฮลดิ้งที่ใช้ในการถือหุ้นในบริษัทอื่น หลายกรณีพบว่า บริษัทนอกอาณาเขตเหล่านี้ถือหุ้นของกันและกันซ้อนเป็นหลายชั้น
และทำธุรกรรมระหว่างกันเองหรือบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทย
อย่างไรก็ตาม มีหลายบริษัทในความครอบครองของนักธุรกิจไทย ที่ไม่ปรากฏข้อมูลการทำธุรกิจที่ชัดเจน
สำหรับตระกูลเจียรวนนท์ ที่นิตยสารฟอร์บส์ระบุว่า มีความมั่งคั่งอันดับ 1 ของประเทศไทย มีสมาชิกที่ใช้บริษัทนอกอาณาเขต ทั้งในรุ่นของนายธนินท์ เจียรวนนท์ และทายาทรุ่นถัดมา
โดยมีทั้งในรูปของทรัสต์และบริษัทโฮลดิ้ง
ขณะที่สำนักข่าวอิศรา ได้ส่งอีเมลและหนังสือลงทะเบียนขอความเห็น นายศุภชัย เจียรวนนท์ เรื่องการถือครองบริษัทนอกอาณาเขตดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2564 ที่ผ่านมา
แต่ฝ่ายสื่อสารองค์กรบริษัทแจ้งว่า ยังไม่ได้รับอีเมลและหนังสือดังกล่าว สำนักข่าวอิศรา จึงอยู่ระหว่างการประสานงาน เพื่อขอความเห็นเรื่องนี้อีกครั้ง
จากการตรวจสอบยังพบด้วยว่า เอกสารจากเอเย่นต์จดทะเบียนบริษัทนอกอาณาเขต ซิตี้ ทรัสต์ (CitiTrust) ระบุชื่อทายาทรุ่น 2 และ 3 ของ ตระกูลจิราธิวัฒน์ ตระกูลมหาเศรษฐีอันดับ 4 ของไทย
เช่น สุทธิชัย สุทธิลักษณ์ ปริญญ์ ทศ ปิยวรรณ และ จริยา จิราธิวัฒน์ เป็นเจ้าของผู้รับผลประโยชน์ หรือผู้มีอำนาจในการลงนามของบริษัทนอกอาณาเขตจำนวนหนึ่ง ในช่วงเวลาที่ต่างกันระหว่าง พ.ศ.2549 – 2557
โดยสำนักข่าวอิศรา ได้ส่งอีเมลและหนังสือลงทะเบียนขอความเห็น นาย ทศ จิราธิวัฒน์ เรื่องการถือครองบริษัทนอกอาณาเขตดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2564 เช่นกัน
แต่ยังไม่ได้รับการติดต่อกลับมา
นาย สารัชถ์ รัตนาวะดี ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ บจม.กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) มหาเศรษฐีอันดับ 5 ของไทย มีชื่อเป็นเจ้าของผู้รับผลประโยชน์ของ
บริษัท โรบัส คอมปานี ลิมิดเต็ด (Robus Company Limited) ในเอกสารของไทรเด้นท์ ทรัสต์ ปี 2560 อย่างไรก็ตาม ไม่พบข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการทำธุรกิจของบริษัทนี้
ในอดีต นายสารัชถ์ เคยมีบริษัทนอกอาณาเขตอีกแห่งหนึ่ง คือบริษัท เอริดจ์ อินเวสต์เม้นท์ (Eridge Investments Pte Ltd) โดยเอกสารของเอเซียซิตี้ ทรัสต์ ชี้ว่า
ใน พ.ศ. 2540 บริษัทดังกล่าวได้เข้าซื้อหุ้นบริษัทสาริน พร้อพเพอร์ตี ดิเวลลอปเม้นท์ (ประเทศไทย) จากบริษัท เวลธ์ อินฟินีตี้ คอมปานี ลิมิดเต็ด (Wealth Infinity Company Limited)
ในบริติช เวอร์จิน อย่างไรก็ตามบริษัท เอริดจ์ อินเวสต์เม้นท์ ได้ยุบไปราว พ.ศ.2544 โดยสำนักข่าวอิศรา ได้ส่งอีเมลและหนังสือลงทะเบียน ขอความเห็นเรื่องการถือครองบริษัทนอกอาณาเขต
ไปยัง นาย สารัชถ์ ตั้งแต่เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2564 เพื่อให้ชี้แจงข้อเท็จจริงเรื่องนี้ แต่ยังไม่ได้รับการติดต่อกลับ
นาย เพชร โอสถานุเคราะห์ รองประธานกรรมการบริหาร บริษัทโอสถสภา จำกัด และอธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ สมาชิกครอบครัวโอสถสภา ซึ่งติดโผครอบครัวมหาเศรษฐีอันดับ 6 ของประเทศ
ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก สำนักข่าวอิศรา
https://www.isranews.org/article/isranews/103032investigative00264.html
เรื่องเล่าข่าวเด็ด
แพนโดรา
มหาเศรษฐี
เรื่องเล่า ข่าวเด็ด

เอกสารลับปูดคนดังซุกทรัพย์! พบ \

ทำความรู้จัก “SiriHub Token” ICO ตัวแรกของไทยที่มีอสังหาริมทรัพย์อ้างอิง


หลังเปิดขายวันแรกไปเมื่อวันที่ 21 กันยายนที่ผ่านมา ‘Siri Hub Token’ ICO ตัวแรกของไทยที่มีการอ้างอิงกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ ได้สร้างปรากฎการณ์ใหม่ในการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล หลังนักลงทุนให้การตอบรับเป็นอย่างดี และเหลือโทเคนดิจิทัลเพียง 200 ล้านบาทสุดท้ายจากจำนวนทั้งหมด 2,400 ล้านบาท ภายใน 10 วัน
แล้วโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนตัวนี้แตกต่างจากการลงทุนใน Cryptocurrency อย่างไร ใครลงทุนได้บ้าง และจะเลือกลงทุนอย่างไร วันนี้ beartai พูดคุยกับคุณอัฏฐ์ ทองใหญ่ อัศวานันท์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอ็กซ์สปริง ดิจิทัล จำกัด และคุณปิ่นปราชญ์ จักกะพาก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท อีอาร์เอ็กซ์ จำกัด ครับ
‘Siri Hub Token’ สามารถจองซื้อผ่านแอปพลิเคชัน XSpring ได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 4 ตุลาคม 2564 เวลา 15.30 น.
ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
👉 https://www.xspringdigital.com/
การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลในหนังสือชี้ชวน เพื่อความเข้าใจลักษณะของผลิตภัณฑ์ เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
ติดตามแบไต๋ กดเลย! https://cutt.ly/YTbeartai
================
ติดต่องานโฆษณา หรือ Production ได้ที่
🔔[email protected]
📱 To. 0858482253
ติดตามข่าวสารด้านไอที และไลฟ์สไตล์โดน ๆ ได้ที่
Facebook: https://facebook.com/beartai
Twitter: https://twitter.com/beartai
Instagram: https://www.instagram.com/beartai.ig
TikTok: https://www.tiktok.com/@beartai/
Website: https://www.beartai.com
LINE: @beartai

ทำความรู้จัก “SiriHub Token” ICO ตัวแรกของไทยที่มีอสังหาริมทรัพย์อ้างอิง

การเคารพความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น


การเคารพความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น หมายถึง สิทธิของบุคคลตามหลักขั้นพื้นฐานของกฎหมายที่จะอยู่ตามลำพังโดยปราศจากการรบกวนหรือสอดแทรกจากผู้อื่นที่ทำให้เกิดความเดือดร้อน รำคาญใจ เสียหาย อับอาย หรือแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
พงษ์พิชญ์ อ่อนละมัย : อ่าน
เนื้อหา : th.wikipedia.org
สนับสนุนโดย : กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

การเคารพความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่INVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment