ผู้ประกอบการ : ยื่นภาษีประจำปี(ภงด 94, ภงด 90, ภงด 91, ภงด 50, และภงด 51) | ภงด 90 91 94 คือ

You are viewing this post: ผู้ประกอบการ : ยื่นภาษีประจำปี(ภงด 94, ภงด 90, ภงด 91, ภงด 50, และภงด 51) | ภงด 90 91 94 คือ

ผู้ประกอบการ : ยื่นภาษีประจำปี(ภงด 94, ภงด 90, ภงด 91, ภงด 50, และภงด 51)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 703 Yellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง และ อ.เจี๊ยบ โทร 0970091656 หรือไลน์ Yellow_Accounting หรือ @Yellowtraining

ผู้ประกอบการ :  ยื่นภาษีประจำปี(ภงด 94, ภงด 90, ภงด 91, ภงด 50, และภงด 51)

อัพเดทล่าสุุด! วิธียื่นแบบ ภงด 90 เงินได้ 40(2-8)/เงินได้ขายของ/ร้านค้า/ไม่มีภาษีชำระ/ได้คืนภาษี


วิธียื่นแบบภาษีเงินได้บุคคธรรมดา ภ.ง.ด. 90 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต/ออนไลน์ กรณีผู้มีเงินได้ มีเงินได้มากกว่าเงินเดือนเพียงอย่างเดียว หรือมีเงินได้จากการเปิดร้านขายของ เงินได้อื่นๆ
วิธียื่น ภงด. 90 แบบไม่มีภาษีที่ต้องชำระ (ภาษีเป็น 0) เริ่มนาทีที่ 00.01.03
วิธียื่น ภงด.90 แบบมีภาษีที่ชำระไว้เกิน (ได้รับเงินคืนภาษี) เริ่มนาที่ 00.06.50
สามารถพูดคุย แนะนำ ติดตาม และแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้
Facebook : https://www.facebook.com/kalataxes

อัพเดทล่าสุุด! วิธียื่นแบบ ภงด 90 เงินได้ 40(2-8)/เงินได้ขายของ/ร้านค้า/ไม่มีภาษีชำระ/ได้คืนภาษี

ร้านค้าคนละครึ่ง ขายดี อย่าลืมยื่นภาษีด้วย


ร้านค้าคนละครึ่ง ขายดี อย่าลืมยื่นภาษีด้วย
รายละเอียดจะเป็นอย่างไร ต้องฟัง!!!

ติดต่อโฆษณา
โทร. : 020528556
Email : [email protected]

ช่องทางการติดต่อ บนกองเงินกองทอง
? Line @ : @bon.knkt
? Click https://goo.gl/XsD1oN

☎ โทร : 020528556
? บริษัท บนกองเงินกองทอง จำกัด @ อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 14 ใกล้ BTS อารีย์
? แผนที่ https://g.co/kgs/smTC7h

ร้านค้าคนละครึ่ง ขายดี อย่าลืมยื่นภาษีด้วย

อวสานคนหนีภาษี ! เราจะเลี่ยงภาษีได้ยากขึ้นเพราะอะไร ?


จริงไหม? เราจะหนีภาษีกันยากขึ้น เพราะระบบการตรวจสอบที่เปลี่ยนไป และหลายอย่างที่กำลังเปลี่ยนแปลง ทั้งข้อกฎหมาย เทคโนโลยี รวมถึงอื่นๆ อีกมากมายวันนี้พรี่หนอมเลยมาชวนพูดคุยกันในคลิปนี้ครับ
เอาจริง ๆ แล้วตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา เชื่อว่าใครหลายคนจะได้เห็นเรื่องราวทำนองนี้ ไม่ว่าจะเป็น
1. แหล่งข้อมูลตรวจสอบการหลบหนีมีมากขึ้น ทั้งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ข้อมูลแจ้งเบาะแส และข้อมูลภายนอก ที่ช่วยให้การตรวจสอบคนหนีภาษีนั้นเข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ
2. ระบบการตรวจสอบที่เจ้มจ้นจนต้องร้อง ได้แก่..
ระบบ RBA + Big DATA = ระบบการตรวจสอบที่มีหลักเกณฑ์ตามความเสี่ยงของธุรกิจ เชื่อมโยงข้อมูล BIG DATA และรอการพัฒนาเป็น AI ในอนาคต ทำให้กรมสรรพากรมีข้อมูลและแนวทางการตรวจสอบที่เป็นระบบมากขึ้น
ระบบคัดเลือกราย = รายเสี่ยงต้องโดนกรมสรรพากรตรวจสอบมากขึ้น เพราะมีเกณฑ์ในการคัดเลือกอยู่
การจัดกลุ่มผู้ประกอบการ = กลุ่มดี หรือ กลุ่มเสี่ยง คือคำตอบของการจัดการด้านภาษีที่เข้มข้น เพราะถ้าธุรกิจหรือบุคคลไหนอยู่ในกลุ่มเสี่ยง ย่อมมีโอกาสเสี่ยงโดนตรวจสอบมากขึ้นเช่นกัน
3. EPayment คือการรุกหนักผลักเข้าสู่ระบบ คั้งแต่สังคมไร้เงินสดพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ EFiling การยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต รวมถึง ETAX invoice / EWitholding TAX การพัฒนาระบบทั้งสองส่วนนี้จะช่วยให้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบมากขึ้นเช่นกัน แม้ว่าจะอยู่ระหว่างพัฒนา แต่ก็น่าจะมาเรื่อยๆ ตามสไตล์
4. กฎหมายออกใหม่ ตั้งแต่กำหนดให้ ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร หรือ สรรพากรตรวจสอบข้อมูลบัญชีธนาคาร สำหรับธุรกรรมลักษณะเฉพาะที่เข้าเงื่อนไข ทำให้กรมสรรพากรมีข้อมูลในการวิเคราะห์ได้ดีขึ้น ไปจนถึงการตรวจสอบดอกเบี้ยออมทรัพย์ ภาษี eservice ที่กำหนดให้หน่วยงานต่างประเทศต้องนำส่งข้อมูลลูกค้าให้กับสรรพากร
แม้ประเด็นนี้จะยังเห็นไม่ชัดว่ามีผลกระทบด้านภาษีมากแค่ไหน แต่ถ้าลองมองเชื่อมโยงกันได้ก็จะเห็นว่า ข้อมูลธุรกรรมต่างๆ เริ่มมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตเรามากขึ้น นี่คือสิ่งที่ต้องติดตามต่อไปครับ
ป.ล. คลิปนี้ชวนพูดคุยในส่วนประเด็นข้อ 4 เพื้อให้เห็นภาพที่มีผลกระทบกับเราทุกคนครับ
สารบัญคลิป
00:00 Intro
00:50 ทำไมต้องอวสานคนหนีภาษี ?
01:30 ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร
05:27 ธนาคารส่งข้อมูลดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์
07:53 eService ภาษีมูลค่าเพิ่ม
09:26 ลองคิดดูว่า จะเกิดอะไรขึ้น ?
10:29 เราควรทำอย่างไรดี?
ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ ภาษีอีเซอร์วิส

อวสานคนหนีภาษี ! เราจะเลี่ยงภาษีได้ยากขึ้นเพราะอะไร ?

เงินได้พึงประเมินแบบใด ยื่นภ.ง.ด.90, 91 / ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา


ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แบ่งเงินได้พึงประเมินเป็น 8 ประเภท
ตามประมวลรัษฎากร
1.เงินได้พึงประเมิน 40(1) ได้แก่ เงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส บำเหน็จบำนาญ ฯลฯ
2. เงินได้พึงประเมิน 40(2) ได้แก้ เงินได้จากการรับทำงานให้ ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าเบี้ยประชุม ส่วนลด ฯลฯ
3. เงินได้พึงประเมิน 40(3) ได้แก่ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าลิขสิทธิ์ ฯลฯ
4. เงินได้พึงประเมิน 40(4) ได้แก่ ดอกเบี้ย เงินปันผล ส่วนแบ่งกำไร ฯลฯ
5. เงินได้พึงประเมิน 40(5) ได้แก่ เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน
6. เงินได้พึงประเมิน 40(6) ได้แก่ เงินได้จากการประกอบวิชาชีพอิสระ เช่น วิชาชีพกฎหมาย ประกอบโรคศิลป์ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปฯ
7. เงินได้พึงประเมิน 40(7) ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ
8. เงินได้พึงประเมิน 40(8) ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์
หรือเงินได้ที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ใน 40(1)(7)

======================================================
พูดคุยเกี่ยวกับเนื้อหาในคลิปนี้ได้ที่
Facebook : https://www.facebook.com/madamnuchselflearning
Line : https://line.me/ti/p/i5MmsBmPwn

เงินได้พึงประเมินแบบใด ยื่นภ.ง.ด.90, 91 / ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆBUSINESS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: BUSINESS

Leave a Comment