วิธีทำสื่อออนไลน์ให้ถูกจริตคุณ โดยแบ่งตามความถนัดระหว่าง สมองซีกซ้าย VS ซีกขวา | สมองซีกขวา

You are viewing this post: วิธีทำสื่อออนไลน์ให้ถูกจริตคุณ โดยแบ่งตามความถนัดระหว่าง สมองซีกซ้าย VS ซีกขวา | สมองซีกขวา

วิธีทำสื่อออนไลน์ให้ถูกจริตคุณ โดยแบ่งตามความถนัดระหว่าง สมองซีกซ้าย VS ซีกขวา


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สิ่งที่คุณจะได้เรียนรู้ในตอนนี้ ก็คือ วิธีเลือกการนำเสนอเนื้อหา และการบริหารสื่อออนไลน์ ให้ถูกกับจริตของคุณ โดยจะใช้วิธีแบ่งตามลักษณะเด่นของซีกสมองที่คุณใช้ทำงาน เรื่องนี้สำคัญในระดับชี้เป็นชี้ตายความสำเร็จในการก่อร่างสร้างธุรกิจสื่อของคุณในปีแรก ๆ รายละเอียดเป็นอย่างไร ไปเริ่มกันเลยครับ!
วีดีโอนี้เป็นส่วนหนึ่งของคอร์สออนไลน์ Influencer Millionaire รายละเอียดที่นี่ https://ceochannels.com/courseinfluencermillionaire/

วิธีทำสื่อออนไลน์ให้ถูกจริตคุณ โดยแบ่งตามความถนัดระหว่าง สมองซีกซ้าย VS ซีกขวา

สร้างนวัตกรรมด้วยสมองซีกขวา | Jittiporn Kruenate | TEDxChiangMai


\”Innovation with Right Brain Perspective\” Dr. Jittiporn Kruenate (ดร. จิตติ์พร เครือเนตร) is the Vice President of the Science and Innovation Center of PTT Global Chemical PLC. She graduated with a Ph.D. degree in Polymer Science and Technology from the University of Manchester and then worked for the National Science and Technology Development Agency (NSTDA) for 14 years, researching into the use of new bioplastics for agricultural applications. Her research team garnered national and international awards such as the EUREKA award (2004), and the Innovative award by the National Research Council of Thailand (NRCT, 2005). Her success led her to be recognized as a “Young Global Leader (YGL)” by the World Economic Forum in 2009.
จิตติ์พร เครือเนตร ดำรงตำแหน่งผู้จัดการหน่วยงาน Corporate Innovation ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยี บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เธอได้รับปริญญาเอกด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์จากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์และได้ร่วมงานกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)ในการค้นคว้าวิจัยการใช้ไบโอพลาสติกเพื่อการเกษตรเป็นเวลากว่า 14 ปี
ทีมนักวิจัยของจิตติ์พรคว้าหลายรางวัลในระดับประเทศและระดับนานาชาติ เช่น รางวัล EUREKA เมื่อปี พ.ศ. 2547 รางวัลประกาศเกียรติคุณผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี พ.ศ. 2548 จากสภาวิจัยแห่งชาติ และ รางวัลเกียรติยศ รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2551 จาก มูลนิธิ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ความสำเร็จในผลงานของเธอยังทำให้เธอเป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งใน “Young Global Leader” หรือผู้นำโลกรุ่นใหม่ ซึ่งได้รับคัดเลือกจากสภาเศรษฐกิจโลกในปี พ.ศ. 2552 อีกด้วย
Dr. Jittiporn Kruenate (ดร. จิตติ์พร เครือเนตร) is Vice President of the Science and Innovation Center of PTT Global Chemical PLC. She graduated with a Ph.D. degree in Polymer Science and Technology from the University of Manchester and then worked for the National Science and Technology Development Agency (NSTDA) for 14 years, researching into the use of new bioplastics for agricultural applications. Her research team garnered national and international awards such as the EUREKA award (2004), and the Innovative award by the National Research Council of Thailand (NRCT, 2005). Her success led her to be recognized as a “Young Global Leader (YGL)” by the World Economic Forum in 2009. This talk was given at a TEDx event using the TED conference format but independently organized by a local community. Learn more at https://www.ted.com/tedx

สร้างนวัตกรรมด้วยสมองซีกขวา | Jittiporn Kruenate | TEDxChiangMai

การทำงานของสมองซีกซ้าย และ ซีกขวา [วิธีดูแลสมอง]


ถ้าไม่อยากให้ลูกรักของคุณเป็นเด็กสมาธิสั้น !!
คุณต้องรู้จักสังเกตุว่า ลูกของคุณมีพฤติกรรมเหล่านี้หรือไหม​?
1. ชอบเหม่อ ใจลอย ไม่สนใจเรียน วอกแวกง่าย
2. อู้ ยืดยาด เฉื่อย ทำงานช้า ทำงานไม่เสร็จ
3. หลงลืมง่าย
4. ขาดการวางแผนล่วงหน้า
5. ทำงานไม่เรียบร้อย สะเพร่า
6. แบ่งเวลาไม่เป็น
7. ขาดระเบียบ
8. ไม่มีความอดทน ล้มเลิกง่าย
9. หลีกเลี่ยงการทำการบ้าน
10. หลีกเลี่ยงการทบทวน อ่านหนังสือ
💖💖💖 ด้วยความปราถนาดีจาก อาหารเสริม \”อเลอไทด์\”
ช่วยเพิ่มสมาธิและความจำเรียนรู้สิ่งไหม่ๆได้ไวขึ้น
อย่าลืมกดติดตาม วิธีดูแลสมอง เพื่อให้ไม่พลาดบทความดี ๆ ของเราก่อนใครนะคะ
ปรึกษาวิธีการด้วยโภชนาการจากธรรมชาติ ที่ออกแบบมาเพื่อสมองโดยเฉพาะ
Tel : 0805192929 คุณวิสาล (น้ำ)
Tel : 0966713118 คุณตุ๊ก
Tel : 0924182533 คุณณิชกานต์ (เมย)
หรือ@Line : https://line.me/R/ti/p/%40ygj2240w
เว็บไซต์ https://goodhealth99.weebly.com/goodiq.html

การทำงานของสมองซีกซ้าย และ ซีกขวา [วิธีดูแลสมอง]

สภาพแบบนี้ จะมีปัญญามาซื้อรถหรอ!!?


สภาพแบบนี้ จะมีปัญญามาซื้อรถหรอ!!?

สภาพแบบนี้ จะมีปัญญามาซื้อรถหรอ!!?

ปวดหัวข้างขวา 8 สาเหตุปวดหัว ความเสี่ยงที่ไม่ควรมองข้าม – สุขภาพ [health]


อาการปวด ที่ระบุตำแหน่ง จะสามารถทำให้เรา วิเคราะห์หาสาเหตุเบื้องต้นได้ ว่าเกิดจากอะไรกันแน่ แล้วอันตรายมากเพียงใด โดยเฉพาะอาการ ปวดหัวข้างขวา ที่มักพบได้บ่อย และไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่นี่ https://goo.gl/DS16aD

ปวดหัวข้างขวา 8 สาเหตุปวดหัว ความเสี่ยงที่ไม่ควรมองข้าม - สุขภาพ [health]

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMMO

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: MMO

Leave a Comment