\”ศฤงคาร\” เก็บข้อผิดพลาดมาปรับปรุงแก้ไข หวังเก็บชัยในเกมที่เหลือต่อจากนี้ | ปรับปรุงแก้ไข

You are viewing this post: \”ศฤงคาร\” เก็บข้อผิดพลาดมาปรับปรุงแก้ไข หวังเก็บชัยในเกมที่เหลือต่อจากนี้ | ปรับปรุงแก้ไข

\”ศฤงคาร\” เก็บข้อผิดพลาดมาปรับปรุงแก้ไข หวังเก็บชัยในเกมที่เหลือต่อจากนี้


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

\

อุทกดาบส อาจารย์สมาธิขั้นสูงสุดของเจ้าชายสิทธัตถะ


อุทกดาบส ผู้ถ่ายทอดการฝึกสมาธิขั้นสูงสุด
แก่เจ้าชายสิทธัตถะ
หากมีคำถามและไม่ได้ตอบกลับ ขออภัยทางเราไม่ได้เปิดการแจ้งเตือน

อุทกดาบส อาจารย์สมาธิขั้นสูงสุดของเจ้าชายสิทธัตถะ

แยกธาตุขันธ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน)


แยกธาตุขันธ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน

หลวงตา อธิบายเมื่อจิตสงบด้วยสมาธิเเล้ว
พิจารณาทางปัญญา เเยกธาตุขันธ์ สุภะ อสุภะ
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
จนจิตถอนอุปาทานความยึดมั่นเข้ามาๆ
เเล้วจะย้อนมาเห็น จิตที่เเท้ เป็นอย่างไร
ขอบคุณ คลิบต้นฉบับ
youtube chanel : Mangabukaya

ติดตาม ฟังธรรมะเพิ่มเติมได้ที่
https://www.facebook.com/riverdhamma

แยกธาตุขันธ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน)

วันออกพรรษา หรือ วันมหาปวารณา | ฉากหนึ่งที่กล่าวถึงในซีรีส์พระพุทธเจ้าฯลฯ


วันออกพรรษา คือ วันที่สิ้นสุดระยะการจำพรรษาเป็นเวลา ๓ เดือน (นับตั้งแต่วันเข้าพรรษา) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า \”วันมหาปวารณา\” คำว่า \”ปวารณา\” แปลว่า \”อนุญาต\” หรือ \”ยอมให้\” ในวันออกพรรษานี้พระสงฆ์จะประกอบพิธีทำสังฆกรรม เรียกว่า มหาปวารณา เป็นการเปิดโอกาสให้ภิกษุว่ากล่าวตักเตือนกันได้ เพราะในระหว่างเข้าพรรษา พระสงฆ์บางรูปอาจมีข้อบกพร่องที่ต้องแก้ไข การให้ผู้อื่นว่ากล่าวตักเตือนได้ ทำให้ได้รู้ข้อบกพร่องของตน และยังเปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัยซึ่งกันและกันด้วย
เพื่อความเข้าใจ: วันสุดท้ายของการอยู่จำพรรษา ๓ เดือน ของพระภิกษุ ตามคัมภีร์เรียกว่า วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา นั้น ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 เราเรียกกันว่า \”วันออกพรรษา\” ตามที่เข้าใจกันทั่วไป แต่ตามพระวินัยบัญญัติ พระภิกษุทั้งหลายยังต้องอยู่ในจำพรรษาในคืนวันนั้น (วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน๑๑) อีกคืนหนึ่ง จะไปค้างแรมที่อื่นเลยไม่ได้ ต้องให้ผ่านอรุณเข้าวันใหม่ (วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑) เสียก่อน
การปวารณา ถือเป็นข้อปฏิบัติตามพระวินัยสำหรับพระภิกษุโดยเฉพาะ เรียกว่า เป็นญัตติกรรมวาจา (สังฆกรรม) ประเภทหนึ่ง ให้โอกาสแก่พระสงฆ์ที่จำพรรษาอยู่ร่วมกันตลอดไตรมาส (๓เดือน) สามารถว่ากล่าวตักเตือนและชี้ข้อบกพร่องแก่กันและกันได้โดยเสมอภาค ด้วยจิตที่ปรารถนาดีซึ่งกันและกัน เพื่อให้พระสงฆ์ที่ถูกตักเตือนมีโอกาสรับรู้ข้อบกพร่องของตนและนำข้อบกพร่องไปแก้ไขปรับปรุงตัวให้ดียิ่งขึ้น
เมื่อถึงวันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนถือเป็นโอกาสอันดีที่จะเข้าวัดเพื่อบำเพ็ญกุศลแก่ตนเองที่ตั้งใจปฏิบัติตนเป็นอุบาสกอุบาสิกา ส่วนพระสงฆ์จำพรรษาและตั้งใจปฏิบัติธรรมมาตลอดจนครบไตรมาส (๓เดือน) หรือในวันถัดไปคือ วันออกพรรษา(จริง) (คือ วันแรม ๑ค่ำ เดือน๑๑) พุทธศาสนิกชนในประเทศไทยนิยมไปทำบุญตักบาตร เรียกว่า บุญเทศกาลบาตรเทโว หรือ บาตรเทโวโรหณะ เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในพุทธประวัติที่กล่าวว่า พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากเทวโลก ลงมายังโลกมนุษย์หลังจากการโปรดเทพบุตร อดีตพระพุทธมารดา พระนางสิริมหามายา บนสวรรค์ดาวดึงส์ (ชั้นที่ ๒) ในพรรษาที่ ๗เสด็จลงมายังเมืองสังกัสสะพร้อมกับทรงแสดงไตรโลกวิวรณปาฏิหาริย์ (ทรงปาฏิหาริย์เปิดโลกทั้ง ๓ สวรรค์,นรก,โลก)
สรุปว่า \”วันออกพรรษา\” ตามที่เรียกและเข้าใจกันทั่วไป (และจะกล่าวถึงต่อไปในบทความนี้) คือวันขึ้น ๑๕ค่ำ เดือน ๑๑ ส่วน \”วันออกพรรษาจริง\” ตามพระวินัย คือ วันแรม ๑ค่ำ เดือน ๑๑ วันออกพรรษา\” (ตามที่เข้าใจกัน) เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาวันหนึ่งในประเทศไทย เนื่องจากเป็นวันสิ้นสุดระยะเวลาจำพรรษา 3 เดือนของพระสงฆ์เถรวาท โดยเป็นวันที่พระสงฆ์จะทำสังฆกรรม คือ การปวารณาในวันนี้ วันออกพรรษา (ออกปุริมพรรษา1) จะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 (ประมาณเดือนตุลาคม) หลังวันเข้าพรรษา 3 เดือน ตามปฏิทินจันทรคติไทย

วันออกพรรษา หรือ วันมหาปวารณา | ฉากหนึ่งที่กล่าวถึงในซีรีส์พระพุทธเจ้าฯลฯ

01.สโมสรฟุตบอล BT United เน้น ฝึก ปรับปรุง แก้ไข และ พัฒนา


01.สโมสรฟุตบอล BT United                                 เน้น ฝึก ปรับปรุง แก้ไข และ พัฒนา

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment