สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับการพัฒนาบัณฑิตศึกษาไทย | หนังสือ พระ เทพ

You are viewing this post: สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับการพัฒนาบัณฑิตศึกษาไทย | หนังสือ พระ เทพ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับการพัฒนาบัณฑิตศึกษาไทย


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ปาฐกถาพิเศษเรื่อง \”สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับการพัฒนาบัณฑิตศึกษาไทย\” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับการพัฒนาบัณฑิตศึกษาไทย

หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพ


หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพ

รีวิวหนังสือพระเทพฯ


รีวิวหนังสือพระเทพฯ

เรื่องเล่าประทับใจ กรมสมเด็จพระเทพฯ เมื่อครูสอนภูมิศาสตร์ไม่รู้ว่าพระองค์คือใคร


ซากุระวินด์\r
อย่าลืมกดติดตามและกดกระดิ่งเพื่อไม่พลาดคลิปใหม่ๆ\r
ฝากติดตามเพจร่มสาละ ตามลิงค์นี้ครับ\r
https://www.facebook.com/buachannel99/

เรื่องเล่าประทับใจ กรมสมเด็จพระเทพฯ เมื่อครูสอนภูมิศาสตร์ไม่รู้ว่าพระองค์คือใคร

กรมสมเด็จพระเทพฯ ทรงเปิดห้องสมุดพร้อมปัญญา ณ เรือนจำจังหวัดตรัง อำเภอเมือง จังหวัดตรัง


เวลา 10.20 น. วันที่ 18 ก.พ. 2563 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปยังเรือนจำจังหวัดตรัง อำเภอเมือง จังหวัดตรัง ทรงเปิดห้องสมุดพร้อมปัญญา ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อปี 2549 มีห้องสมุดกลาง และห้องสมุดสาขาให้บริการประจำแดน ได้พัฒนาบริการห้องสมุดด้านสื่อทรัพยากรสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง มีสารสนเทศทั่วไปและเฉพาะสาขา ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ และหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 7,000 เล่ม ประกอบด้วย หนังสือทั่วไป หนังสือพระราชนิพนธ์ วารสาร นิตยสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีมุมส่งเสริมการอ่าน มุมซ่อมหนังสือด้วยการเย็บกี่ และทำปกหนังสือลายผ้าปาเต๊ะ มุมเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ นอกจากนี้ มีศิลปินและปราชญ์ท้องถิ่นมาสอนวาดรูป ทั้งสีน้ำมัน และสีอะคริลิค การปั้น และการแต่งสวน
จากนั้น ทอดพระเนตรการแสดงหนังตะลุงของ นายณรงค์ จันทร์พุ่ม หรือ \”หนังอาจารย์ณรงค์ ตะลุงบัณฑิต\” ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง ประจำปี 2557 แล้วทอดพระเนตรห้องเรียนคอมพิวเตอร์โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามแนวพระราชดำริ โดยวิทยาลัยเทคนิคตรัง มาสอนการออกแบบโลโก้ การทำปฏิทินและนามบัตร รวมทั้งฝึกวิชาชีพ เช่น การตัดผม เสริมสวย และนวดแผนไทย
ต่อจากนั้น ทอดพระเนตรกิจกรรมฝึกอาชีพที่หลายหน่วยงานเข้ามาส่งเสริมให้ผู้ต้องขัง เพื่อนำไปประกอบอาชีพหลังพ้นโทษ อาทิ เรือนจำเหรียงห้อง อบรมวิชาชีพด้านการเกษตร จัดทำศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง สอนการปลูกพืชผักและเลี้ยงปศุสัตว์ ทำน้ำส้มควันไม้และน้ำหมักชีวภาพ, วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง สอนการทำขนมไทยโบราณ เช่น ขนมเรไรบุษบา, น้ำสมุนไพร, การชงชา กาแฟ และเครื่องดื่มต่าง ๆ, การทำขนมหินฝนทอง ขนมโบราณ ที่ในอดีตจะทำเฉพาะในโอกาสที่ทหารจะออกไปรบ, สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน สอนการจักสานก้านจาก เป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น แจกัน ที่ใส่ทิชชู่, ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง สอนการเพ้นท์สีและลายเส้นผ้าปาเต๊ะ, วิทยาลัยการอาชีพตรัง สอนการจับจีบผ้า และหัตถกรรมงานเชือก และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มาฝึกอาชีพและส่งเสริมให้ผู้ต้องขังศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี
ปัจจุบัน เรือนจำจังหวัดตรัง มีผู้ต้องขัง 2,912 คน แยกการควบคุม 6 แดน ทั้งนี้ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดำริให้เรือนจำต่าง ๆ ให้ความรู้แก่ผู้ต้องขังและผู้ต้องขังที่ใกล้จะพ้นโทษ และแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤตินิสัย เพื่อให้มีทัศนคติที่ดี มีความรู้ทั้งสายสามัญและสายอาชีพ สามารถนำไปหารายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัว

กรมสมเด็จพระเทพฯ  ทรงเปิดห้องสมุดพร้อมปัญญา ณ เรือนจำจังหวัดตรัง อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment