สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับเกี่ยวกับการลา ของแรงงานในภาคเกษตรกรรม | สิทธิ การ ลา ของ ลูกจ้าง

You are viewing this post: สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับเกี่ยวกับการลา ของแรงงานในภาคเกษตรกรรม | สิทธิ การ ลา ของ ลูกจ้าง

สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับเกี่ยวกับการลา ของแรงงานในภาคเกษตรกรรม


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับเกี่ยวกับการลา ของแรงงานในภาคเกษตรกรรม หลายคนยังไม่ทราบซึ่งสิทธิประโยชน์เหล่านี้ ทำให้ลูกจ้างบางรายถูกเอาเปรียบได้
ซึ่งหากลูกจ้างแรงงานในภาคเกษตรกรรม ถูกเอาเปรียบในเรื่องของสิทธิการลา มีโทษจําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
หรือโทรแจ้งได้ที่ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสุรินทร์
โทร044518890 ,044513981 หรือสายด่วน 1546 ค่ะ

สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับเกี่ยวกับการลา ของแรงงานในภาคเกษตรกรรม

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2555


ขอโทษที่ห่างหายไปนานนะคับ พอดีผมทำงานประจำด้วย เรียนรามด้วย สอบราชการด้วย ก็เลยไม่มีเวลา แต่หลังจากนี้จะพยายามทำคลิปออกมาเรื่อยๆนะคับ
ผมน้อมรับทุกคำติชมนะคับ แต่ถ้าใครคอมเม้นหยาบคายผมแบนทิ้งสถานเดียวนะคับ
ส่วนใครที่อยากเป็นข้าราชการ เรามีความฝันเดียวกันคับ เราจะสู้ไปด้วยกัน
ตารางการลา http://www.personnel.psu.ac.th/word/9.274.pdf
(หน้า12เป็นต้นไป)

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2555

การลาของข้าราชการ 11 ประเภท


การลาของข้าราชการ เตรียมสอบครู 63 ครูยอด
ติดตามได้ทาง page facebook : เตรียมสอบบรรจุครู by ยอด
https://www.facebook.com/yodtutor/
หากชอบคลิปนี้ฝากด Like กด subscribe

การลาของข้าราชการ 11 ประเภท

EP:16.2​ สิทธิประโยชน์กรณีเจ็บป่วย​ ม.33​ และ​ม.39.​ การเบิกเงินชดเชยการขาดรายได้อย่างไร


เงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีเจ็บป่วย
มาตรา 33 ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ลูกจ้างมีสิทธิ์ลาป่วยโดยที่ยังได้รับค่าจ้าง ไม่เกิน 30 วันต่อปี ส่วนที่เกิดจาก 30 วันนั้นประกันสังคม จะรับผิชอบจ่ายให้ เงินทดแทนการขาดรายได้ที่จะได้รับคือ 50% ของเงินค่าจ้างที่นำมาคำนวณเงินสมทบ ซึ่งสูงสุดไม่เกิน 15000 บาท
หยุดงานเพื่อรักษาพยาบาลตามคำสั่งของแพทย์ จ่ายให้ครั้งละไม่เกิน 90 วัน และในหนึ่งปี จะจ่ายไม่เกิน 180 วัน ยกเว้นเป็นโรคเรื้อรังปีหนึ่งจะไม่เกิน 180 วัน
มาตรา 39 ไม่มีนายจ้างเพราะทำงานอิสระ ถ้าแพทย์สั่งให้หยุดพักรักษาตัวตั้งแต่ 3 วันขึ้น สามารถขอรับเงินทดแทนได้ แต่เรื่องของเอกสารอาจยุ่งยากมากกว่ามาตรา 33. เงินทดแทนการชายรายได้ที่ผู้ประกันตนมาตรา 39 จะได้รับ คือ 50% ของ ฐานที่คำนวณเงินสมทบคือ 4800 บาท เบิกได้ครั้งละไม่เกิน 90 วัน และปีละไม่เกิน 180 วัน
สนใจอ่านบทความ https://sabaijung.com/
สวัสดิการการทำงาน https://www.youtube.com/watch?v=Acnp6ceIpI\u0026list=PLEYNFDIwKjBY_R5iMlS5kmaaKlX67M93\u0026index=3

สนใจซื้อบัวหิมะ สั่งได้ค่ะ https://raka.is/r/bYOZ

EP:16.2​ สิทธิประโยชน์กรณีเจ็บป่วย​ ม.33​ และ​ม.39.​ การเบิกเงินชดเชยการขาดรายได้อย่างไร

#ลาป่วย #ลากิจ ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าจ้าง #กฎหมายแรงงานเรื่องการลาป่วยลากิจ


ลูกจ้างรายวัน ลูกจ้างรายเดือน ลูกจ้างประจำ หรือลูกจ้างชั่วคราว มีสิทธิลาป่วย หรือลากิจธุระอันจำเป็นได้ทั้งสิ้น และมีสิทธิได้รับค่าจ้างด้วย นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างในวันที่ลานั้นด้วย จะหักไม่ได้นะครับ ผิดกฎหมายแรงงานเต็มๆ ซึ่งก็มีนายจ้างหรือลูกจ้างจำนวนไม่น้อยไม่รู้ถึงสิทธิในเรื่องนี้ หรือเข้าใจกันผิด ยึดแต่ตามระเบียบข้อบังคับการทำงานที่เก่าล่าสมัย กฎหมายแก้ไขใหม่หมดแล้ว แต่นายจ้างยังไม่ยอมปรับแก้ หรือไม่รู้เรื่องเลยก็มี ดังนั้น ผมจึงทำคลิปนี้ขึ้นมาแนะนำสิทธิในเรื่องนี้ให้แก่ลูกจ้างและนายจ้างได้รู้ และเข้าใจ จะได้นำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ลูกจ้างเองก็จะไม่เสียสิทธิในเรื่องนี้ นะครับ

#ลาป่วย #ลากิจ ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าจ้าง #กฎหมายแรงงานเรื่องการลาป่วยลากิจ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆGENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

1 thought on “สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับเกี่ยวกับการลา ของแรงงานในภาคเกษตรกรรม | สิทธิ การ ลา ของ ลูกจ้าง”

  1. Hi! I’ve been following your site for a while
    now and finally got the bravery to go ahead and give you a shout out from
    Austin Texas! Just wanted to mention keep up the
    good job!

    Reply

Leave a Comment