You are viewing this post: เกร็ดความรู้คู่สุขภาพ | จุดเริ่มต้นของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ | สมองเสื่อม
Table of Contents
เกร็ดความรู้คู่สุขภาพ | จุดเริ่มต้นของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย หรือ Mild cognitive impairment (MCI) เป็นภาวะที่ศักยภาพการทำงานของสมองลดลง ซึ่งเป็นสิ่งที่มาคู่กันกับในผู้สูงอายุ หากผู้ป่วยหมั่นสังเกตตัวเองและเข้ารับการรักษา จะสามารถช่วยป้องกันและชะลอการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุได้
ศูนย์สมองและระบบประสาท – โรคสมองเสื่อม เกิดจากอะไร? | โรงพยาบาลนครธน
ใครที่มีอาการหลงลืม จู่ๆ ก็ลืมเส้นทางที่เคยเดินทางเป็นประจำ หรือเรียกชื่อสิ่งของผิด เรียกช้อนเป็นส้อม จำเรื่องที่เพิ่งคุยกันไปสักครู่ไม่ได้ ควรระวัง! เพราะนี่อาจเป็นสัญญาณเริ่มต้นของโรคสมองเสื่อม จริงๆ แล้วโรคนี้เกิดจากอะไร มีวิธีป้องกันอย่างไรบ้าง ไปดูสาระความรู้ดีๆ จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญกันได้เลยค่ะ
การทำงานของสมองขั้นสูงมีทั้งหมด 6 ด้าน ได้แก่
1. ด้านสมาธิ ช่วยให้เราจดจ่อกับการทำงานตรงหน้า
2. ด้านการคิด ตัดสินใจ และวางแผน
3. ด้านความจำ
4. ด้านการใช้ภาษา
5. ด้านมิติสัมพันธ์
6. ด้านการเข้าสังคม
หากการทำงานของสมองในด้านใดด้านหนึ่งมีการเสียไป และเสียมากจนถึงระดับที่ส่งผลกระทบกับการดำเนินชีวิตประจำวัน เราจะเรียกภาวะนี้ว่า \”ภาวะสมองเสื่อม\”
📣 อาการแบบไหน ควรสงสัยว่าเป็นสมองเสื่อม?
หากบุคคลใกล้ตัวของเรา มีพฤติกรรมที่แปลกไปเนื่องจากการทำงานที่ผิดปกติของสมองขั้นสูงทั้ง 6 ด้าน นั่นอาจเป็นอาการของภาวะสมองเสื่อม เช่น
❌ การสูญเสียการทำงานที่เป็นขั้นตอน เช่น ไม่สามารถทอดไข่ได้ หรือ ทอดไข่โดยไม่เอาเปลือกออก จดจำขั้นตอนการกด ATM ไม่ได้
❌ การสูญเสียการทำงานด้านภาษา อาจจะมีการเรียกชื่อสิ่งของผิด เช่น เรียกแก้วเป็นช้อน
❌ การสูญเสียการทำงานด้านความจำ ซึ่งจะมีผลกับความจำระยะสั้น เช่น เมื่อสักครู่เราเพิ่งคุยกันไป ผ่านไป 510 นาที ผู้ป่วยจะลืมว่าเคยคุยอะไรกับเราหรือลืมว่าเคยมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นเมื่อสักครู่นี้
❌ การสูญเสียการทำงานด้านมิติสัมพันธ์ เช่น หลงทาง ไม่รู้จักซ้ายขวา ลืมเส้นทางที่ใช้เป็นประจำแบบกะทันหัน
❌ มีปัญหาด้านการทำงานของจิต ประสาท เช่น มีอาการหูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระแวง
📣 ปัจจัยเสี่ยง โรคสมองเสื่อม
✔️ อายุเกิน 65 ปี
✔️ มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดัน ไขมัน เพราะอาจทำให้เกิดภาวะโรคหลอดเลือดสมองตีบได้
✔️ มีนิสัยชอบทำอะไรซ้ำซาก จำเจ มีกิจวัตรประจำวันแบบเดิม ๆ
✔️ เป็นโรคซึมเศร้าเรื้อรังและไม่ได้รับการรักษา
✔️ ไม่ชอบเข้าสังคม เก็บตัวอยู่คนเดียว
เราควรมีการกระตุ้นสมองให้ทำงานได้ครบในทุกด้าน ด้วยการทำกิจกรรมฝึกสมองบ่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุ เพราะหากเราไม่ใช้สมองเลย กล้ามเนื้อสมองของเราก็จะเหี่ยว เล็กลง และเสื่อมถอยไปในที่สุด
📞 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์สมองและระบบประสาท ชั้น 1 โรงพยาบาลนครธน
โทร. 024509999 ต่อ 10501051
📢 หากไม่อยากพลาดข่าวสารดี ๆ เกี่ยวกับสุขภาพ อย่าลืมกด ติดตาม’ และ ‘กดกระดิ่ง’ 🔔 ด้วยนะคะ ^^
📢 หรือติดตามสาระความรู้เรื่องสุขภาพจากโรงพยาบาลนครธน ในช่องทางอื่น ๆ ได้ที่
👉 Facebook : https://www.facebook.com/Nakornthon/
👉 Line@ : https://goo.gl/rbuBMq
👉 Website : http://nakornthon.com/
👉 IG : https://www.instagram.com/nakornthon/
นครธน Nakornthon มั่นใจนครธน สมองเสื่อม ความจำเสื่อม อัลไซเมอร์
คุยยังไงดีกับผู้ป่วยสมองเสื่อม
คุยยังไงดีกับผู้ป่วยสมองเสื่อม
โรคสมองเสื่อม เป็นความผิดปกติทางสมองประเภทหนึ่ง เมื่อบุคคลนั้นมีอายุมากขึ้น เซลล์สมองจะค่อยๆ ตายไป ผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมมักมีปัญหาเรื่องการหลงลืม การเข้าใจ ภาษา การเรียนรู้ การคำนวณ และวิจารณญาณ ส่งผลให้ใช้ชีวิตลำบากมากขึ้น
การดูแลเอาใจใส่ที่ถูกต้อง เหมาะสม จากแพทย์ ลูกหลาน หรือญาติๆ จะช่วยให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตกับครอบครัวได้อย่างมีความสุข และช่วยลดความเครียดและความอ่อนล้าให้กับผู้ดูแลได้อีกด้วย
เพราะโรคทางใจ คือโรคใกล้ตัว ติดตามชมคลิปให้ความรู้เรื่องสุขภาพใจทั้งหมดได้ที่ https://bit.ly/36WNmtC แล้วอย่าลืม กด SUBSCRIBE กดกระดิ่ง🔔 กันด้วยนะคะ
สมองเสื่อม อัลไซเมอร์ ผู้สูงอายุ ครอบครัว ผู้ดูแล พลังใจดี โรงพยาบาลมนารมย์ Dementia Alzheimers ElderlyCare MentalHealthCare WellBeing ManaromHospital BreakTheStigma
ปลดล็อคสมองเสื่อม ตอนที่ 12 บริหารสมองป้องกันสมองเสื่อม | ธ.ค. 58
คลิปนี้เป็นเรื่องของการฝึกสมอง กิจกรรมการฝึกสมองที่ อ.พ.ญ.น้ำฝน โพธิชำนาญ พิธีกรดำเนินรายการจะพาไปรู้จักกับตาราง 9 ช่องบริหารสมองที่มีไว้ฝึกระบบประสาทที่จะช่วยให้การทำงานของเท้าทำงานได้เร็วขึ้น
โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ | Re-Mind : อารมณ์ ความคิด พฤติกรรม [Mahidol Channel]
หากสังเกตเห็นญาติพี่น้อง ผู้ใหญ่ที่บ้านหรือคนใกล้ชิดเริ่มมีอาการจำอะไรไม่ได้ หลง ๆ ลืม ๆ นั่นอาจเป็นสัญญาณบ่งบอกถึง “โรคสมองเสื่อม” โรคที่พบได้ในผู้สูงอายุ แล้วเราจะรับมือกับโรคนี้อย่างไรในสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุเกิดจากสาเหตุอะไร อาการเป็นอย่างไร และเราจะมีวิธีดูแลและรักษาอาการได้อย่างไรบ้าง
อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน แพทย์และอาจารย์ประจำสาขาจิตเวชศาสตร์ทั่วไป ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล จะมาให้ข้อมูลในหลากหลายแง่มุมเพื่อสร้างความเข้าใจและเรียนรู้วิธีป้องกันโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ติดตามได้ในรายการ REMIND
ตอน โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ReMind MahidolChannel
เนื้อหาในคลิป
00:01 โรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
00:10 อาการของโรคสมองเสื่อม
02:19 ความแตกต่างของขี้ลืมกับโรคสมองเสื่อม
02:54 สาเหตุของโรคสมองเสื่อม
03:45 การวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ป่วยสมองเสื่อม
––––––––––––––––––––
ติดตามช่องทางใหม่ของ Mahidol Channel
ผ่าน LINE Official Account ได้แล้ววันนี้!
เพียงกดที่ลิงค์ https://lin.ee/d4KkmOg
หรือกดเพิ่มเพื่อน แล้วพิมพ์ @mahidolchannel ที่ช่องค้นหาของแอปพลิเคชัน LINE
––––––––––––––––––––
ช่อง YouTube : Mahidol Channel : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook: http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล: https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | http://www.si.mahidol.ac.th/th/
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS
Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS