เงินไร้ค่าที่สุดในโลก เงินเฟ้อ ซิมบับเว | สกุลเงินดอลลาร์

You are viewing this post: เงินไร้ค่าที่สุดในโลก เงินเฟ้อ ซิมบับเว | สกุลเงินดอลลาร์

เงินไร้ค่าที่สุดในโลก เงินเฟ้อ ซิมบับเว


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ยินดีต้อนรับสู่ ครอบครัวเฉาก๊วยทีวี [SGTV] วัยรุ่นซิมบับเว
ถ้าชอบอย่าลืม กดไลค์ กดแชร์ และกด Subscribe กันด้วยนะครับ
\”ใครชอบเรื่องแปลก ใครชอบเรื่องลึกลับ ไม่ควรพลาดด้วยประการทั้งปวง
[คำเตือน] เฉาก๊วยไม่ได้ทำประกันให้กับทุกคน ใครดูเรื่องผีระวังช็อกนะ รักษาสุขภาพกันด้วย อิอิ\”

♥♥♥ ♥♥♥
รักทุกคนนะ จุ๊บๆ
สามารถติดตามเฉาก๊วยได้ทาง
https://www.facebook.com/profile.php?id=100015786583556

ใครกดไลค์ขอให้สวยหล่อ ใครกดสับตะไคร้ขอให้รวย

อยากให้ทำคลิปอะไรเม้นบอกใต้คลิปเลยนะครับ
ขอบคุณที่มา
http://www.wtfintheworld.com/2017/07/24/zimbabwecrisis/

เงินไร้ค่าที่สุดในโลก เงินเฟ้อ ซิมบับเว

มารู้จักสกุลเงินประเทศออสเตรเลียกัน | แต่ละแบบต่างกันยังไง | wedostory


สกุลเงิน
ดอลลาร์และเซ็นต์
สกุลเงินประจำชาติของออสเตรเลียคือดอลลาร์ออสเตรเลียซึ่งอยู่ในรูปของธนบัตรมูลค่า $5, $10, $20, $50 และ $100 เหรียญต่าง ๆ มีมูลค่า 5, 10, 20 และ 50 เซ็นต์ รวมถึงหนึ่งและสองดอลลาร์
ธนบัตรหลากสีของเราพิมพ์ภาพวาดของชาวออสเตรเลียที่มีชื่อเสียงทั้งในอดีตและปัจจุบัน
ธนบัตร $100 แสดงภาพของ Dame Nellie Melba (1861–1931) นักร้องโซปราโนซึ่งมีชื่อเสียงระดับโลก และนายพลเซอร์ John Monash (1865–1931) ทหาร วิศวกร และนักปกครองที่มีชื่อเสียง
ธนบัตร $50 แสดงภาพของ David Unaipon (1872–1967) นักเขียนและนักประดิษฐ์ชาวอะบอริจิน และ Edith Cowan (1861–1932) สมาชิกรัฐสภาหญิงคนแรกของออสเตรเลีย
ธนบัตร $20 แสดงภาพของ Reverend John Flynn (1880–1951) ผู้ก่อตั้งการบริการทางการแพทย์ทางอากาศแห่งแรกของโลก (บริการแพทย์ทางอากาศ Royal Flying Doctor Service) และ Mary Reibey (1777–1855) ซึ่งมาที่ออสเตรเลียในฐานะนักโทษในปี 1792 และกลายเป็นผู้ประกอบธุรกิจขนส่งทางเรือที่มีอิทธิพลและใจบุญซึ่งประสบความสำเร็จในที่สุด
ธนบัตร $10 แสดงภาพของนักกวี AB ‘Banjo’ Paterson (1864–1941) และ Dame Mary Gilmore (1865–1962)
ธนบัตร $5 แสดงภาพของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธที่ 2 และอาคารรัฐสภาในแคนเบอร์รา ซึ่งเป็นเมืองหลวง
เหรียญ $1 แบบมาตรฐาน พร้อมด้วยการออกแบบเหรียญ 50, 20, 10 และ 5 เซ็นต์ ได้รับการออกแบบโดย Stuart Devlin ซึ่งเป็นช่างอัญมณีอย่างเป็นทางการของพระราชินี
เหรียญ $1 เป็นภาพจิงโจ้ห้าตัว เหรียญ $2 เป็นภาพของผู้อาวุโสของชนเผ่าอะบอริจินอยู่ติดกับพื้นหลังที่เป็นดาวกางเขนใต้ และต้นกราสทรีพื้นเมือง เหรียญ 50 เซ็นต์แสดงภาพของตราแผ่นดินออสเตรเลีย ซึ่งมีเครื่องหมายของรัฐทั้งหกบนโล่ที่อยู่ตรงกลาง รองรับด้วยจิงโจ้และนกอีมู
เหรียญ 20 เซ็นต์แสดงภาพของตุ่นปากเป็ด (ในไม่ช้าจะเปลี่ยนเป็น Donald Bradman ตำนานแห่งคริกเก็ต) เหรียญ 10 เซ็นต์แสดงภาพของนกหางพิณไลร์เบิร์ดตัวผู้กำลังร่ายรำ และเหรียญ 5 เซ็นต์แสดงภาพของตัวตุ่น
ในปี 1996 ออสเตรเลียกลายเป็นประเทศแรกในโลกที่มีธนบัตรโพลิเมอร์ (พลาสติก) ครบชุด

สกุลเงินออสเตรเลีย คนไทยในซิดนี่ย์ wedostory

ติดต่องาน (Work or Collabs)
Email : [email protected]

มารู้จักสกุลเงินประเทศออสเตรเลียกัน | แต่ละแบบต่างกันยังไง | wedostory

แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ(อัพเดทค่าเงิน01/04/2020)


สนใจรับข้อมูลที่อัพเดทที่LINE ID:@chansamsao

แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ(อัพเดทค่าเงิน01/04/2020)

เงินเกาหลีเทียบเงินบาทบ้านเรา


มารู้จักเงินเกาหลีกันจ้า เมื่อเทียบกับเงินไทย

เงินเกาหลีเทียบเงินบาทบ้านเรา

กรณีศึกษา เมื่อเงินดอลลาร์สหรัฐ กำลังอ่อนค่าลง


กรณีศึกษา เมื่อเงินดอลลาร์สหรัฐ กำลังอ่อนค่าลง
ลงทุนแมน ลงทุนในความรู้
การลงทุนในความรู้ไม่มีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรกด Subscribe @ลงทุนแมน
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website https://www.longtunman.com/​
Blockdit https://www.blockdit.com/longtunman​
Facebook http://facebook.com/longtunman​
Twitter http://twitter.com/longtunman​
Instagram http://instagram.com/longtunman​
Line http://page.line.me/longtunman​
YouTube https://www.youtube.com/longtunman
Spotify http://open.spotify.com/show/4jz0qVn1…​
Soundcloud http://soundcloud.com/longtunman​
Apple Podcasts http://podcasts.apple.com/th/podcast/…​
Clubhouse @longtunman
ลงทุนแมน​ ห้องประชุมลงทุนแมน​ ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง​ BREAKTHROUGH​ THEBRIEFCASE​ longtunman​ ลงทุนแมนORIGINALS​ ลงทุนเกิร์ลTALK​ ลงทุนเกิร์ล

กรณีศึกษา เมื่อเงินดอลลาร์สหรัฐ กำลังอ่อนค่าลง

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆGENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment