เช็กอาการโควิด วิธีรับมือความเครียด และดูแลสุขภาพจิต | workpointTODAY | ความเครียด หมายถึง กรมสุขภาพจิต

You are viewing this post: เช็กอาการโควิด วิธีรับมือความเครียด และดูแลสุขภาพจิต | workpointTODAY | ความเครียด หมายถึง กรมสุขภาพจิต

เช็กอาการโควิด วิธีรับมือความเครียด และดูแลสุขภาพจิต | workpointTODAY


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ในช่วงวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคโควิด19 นี้ เป็นเรื่องปกติที่คุณอาจรู้สึกเครียด กังวล หรือตื่นกลัว
บางคนอาจจะเครียดโดยไม่รู้ตัวได้เช่นกัน มีวิธีสังเกตอาการยังไง และจะรับมืออาการเหล่านี้ได้ยังไงบ้าง workpointTODAY สรุปข้อมูลจากกรมสุขภาพจิตมาให้ฟังกันครับ
หากคุณต้องการปรึกษาจิตแพทย์หรือต้องการคนรับฟัง ติดต่อได้ที่
กรมสุขภาพจิตมีสายด่วนให้โทรปรึกษาได้ตลอด 24 ชั่วโมง ที่เบอร์ 1323
หรือสามารถติดต่อสมาคมสะมาริตันส์แห่งประเทศไทยได้ทุกวันเวลา 12.0022.00 น. ได้ที่เบอร์ 027136793
โควิด19 สุขภาพจิต เครียด
workpointTODAY | What Works Today
ข่าว ข่าววันนี้ ข่าวด่วน ข่าวธุรกิจ
สาระความรู้สำหรับวันนี้
workpointTODAY LIVE
รายการข่าวออนไลน์ พร้อมประเด็นพูดคุยที่น่าสนใจ
ทุกวันจันทร์ศุกร์ 19.30 น. ช่องทางออนไลน์ของเรา
workpointTODAY
ข่าวเวิร์คพอยท์ทีวีช่อง 23 ตลอดทั้งวัน
https://www.facebook.com/NewsWorkpoint/
Website: workpointtoday.com
Facebook: https://www.facebook.com/workpointTODAY/
YouTube: https://www.youtube.com/WorkpointToday
Instagram: https://www.instagram.com/workpointtoday/
Twitter: https://twitter.com/workpointtoday
Tiktok: https://www.tiktok.com/@workpointtoday

Podcast by workpointTODAY
Apple Podcast https://apple.co/31pJLD0
Google Podcast https://bit.ly/2FJrBo9
Spotify https://spoti.fi/2HeG2RO
Podbean https://bit.ly/3m4nouy

เช็กอาการโควิด วิธีรับมือความเครียด และดูแลสุขภาพจิต | workpointTODAY

5 วิธีง่าย ๆ ผ่อนคลายจากภาวะเครียด


คุณกำลังเครียดหรือเปล่าคะ มาฟัง\”หมอกานต์\” แนะ 5 วิธีง่าย ๆ ผ่อนคลายจากภาวะเครียดกันค่ะ ฟังแล้วทำตามได้เลยนะคะ เพื่อสุขภาพกายใจที่ดี
ขอบคุณ อ. นพ.กานต์ จำรูญโรจน์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รามาแชนแนล หมอรามาฯ

5 วิธีง่าย ๆ ผ่อนคลายจากภาวะเครียด

วิธีสังเกตอาการเมื่อติดโควิด-19 ว่า “เชื้อลงปอด” แล้วหรือยัง? | workpointTODAY


หากคุณเป็นผู้ติดเชื้อโควิด19 แต่ยังไม่ได้เตียงรักษา จะมีวิธีการสังเกตอาการตัวเองอย่างไร ว่าเชื้อลงปอดแล้วหรือยัง?
workpointTODAY รวบรวมข้อมูลวิธีการสังเกตอาการ และการปฏิบัติตัวในระหว่างนี้ มาให้ได้ชมกัน แบบเข้าใจง่ายๆ
ติดเชื้อโควิด โควิด
workpointTODAY | What Works Today
ข่าว ข่าววันนี้ ข่าวด่วน ข่าวธุรกิจ
สาระความรู้สำหรับวันนี้
workpointTODAY LIVE
รายการข่าวออนไลน์ พร้อมประเด็นพูดคุยที่น่าสนใจ
ทุกวันจันทร์ศุกร์ 19.30 น. ช่องทางออนไลน์ของเรา
workpointTODAY
ข่าวเวิร์คพอยท์ทีวีช่อง 23 ตลอดทั้งวัน
https://www.facebook.com/NewsWorkpoint/
Website: workpointtoday.com
Facebook: https://www.facebook.com/workpointTODAY/
YouTube: https://www.youtube.com/WorkpointToday
Instagram: https://www.instagram.com/workpointtoday/
Twitter: https://twitter.com/workpointtoday
Tiktok: https://www.tiktok.com/@workpointtoday

Podcast by workpointTODAY
Apple Podcast https://apple.co/31pJLD0
Google Podcast https://bit.ly/2FJrBo9
Spotify https://spoti.fi/2HeG2RO
Podbean https://bit.ly/3m4nouy

วิธีสังเกตอาการเมื่อติดโควิด-19 ว่า “เชื้อลงปอด” แล้วหรือยัง? | workpointTODAY

กฏแห่งกรรม เรื่อง วิธีการทำจิตให้สงบ เพิ่มกำลังของจิต


vihantaweesakกฏแห่งกรรมจิตสงบกำลังจิต กฏแห่งกรรม เรื่อง วิธีการทำจิตให้สงบ เพิ่มกำลังของจิต วิธีการทำจิตให้สงบ คือการวางจิตให้พอดี ถ้าตั้งใจมากเกินไป ก็เลยไป ปล่อยจิตเกินไปมันก็ไม่ถึง เพราะขาดความพอดี ธรรมดาจิตเป็นของไม่อยู่นิ่ง เป็นของมีกิริยาไหวตัวอยู่ตลอดเรื่อยๆ ฉะนั้นจิตใจของเราจึงไม่มีกำลัง การทำจิตใจของเราให้มีกำลัง กับการทำกายของเราให้มีกำลังมันต่างกัน การทำกายให้มีกำลังก็คือ การออกกำลังกาย ทำกายบริหาร มีการกระโดด การวิ่ง นี่คือการทำกายให้มีกำลัง ส่วนการทำจิตใจให้มีกำลัง ก็คือทำจิตให้สงบ ไม่ใช่ทำจิตให้คิดนั่นคิดนี่ไปต่างๆ ให้อยู่ในขอบเขตของจิต เพราะว่าจิตของเรานั้นไม่เคยได้สงบ ไม่เคยมีกำลัง ฉะนั้นจึงไม่มีกำลังทางด้านสมาธิภายในเลย
วิธีการทำสมาธิให้จิตนิ่ง
บัดนี้เราจะทำสมาธิ ก็ตั้งใจ ให้เอาความรู้สึกกำหนดอยู่กับลมหายใจ ถ้าหากว่าเราหายใจสั้นเกินไปหรือยาวเกินไป ก็ไม่พอดี ไม่ได้สัดส่วนกัน ไม่เกิดความสงบเหมือนกันกับเราเย็บจักร ผู้เย็บจักรมีมือมีเท้าเราต้องถีบจักรเปล่าดูก่อน ให้รู้จักให้คล่องกับเท้าของเรา เสียก่อนจึงเอาผ้ามาเย็บ
การกำหนดลมหายใจก็เหมือนกัน หายใจเฉยๆ กำหนดรู้ไว้ จะพอดีขนาดไหน ยาวขนาดไหน สั้นขนาดไหน จะให้ค่อยขนาดไหน แรงขนาดไหน จะยาวก็ไม่เอากับมัน จะสั้นก็ไม่เอากับมัน จะค่อยก็ไม่เอากับมัน เอาตามความพอดี เอายาวพอดี เอาสั้นพอดี เอาค่อยพอดี เอาแรงพอดี นั่นชื่อว่าพอดี เราไม่ได้ขัดไม่ได้ข้องแล้วก็ปล่อย ฝึกหายใจดูก่อนโดยยังไม่ต้องทำอะไร ถ้าหากว่าจิตสบายแล้ว จิตพอดีแล้ว ก็ยกลมหายใจเข้าออกเป็นอารมณ์ หายใจเข้าต้นลมอยู่ที่ปลายจมูก กลางลมอยู่หทัยคือหัวใจ ปลายลมอยู่สะดือ อันนี้เป็นแหล่งการเดินลม เมื่อหายใจออกต้นลมจะอยู่สะดือ กลางลมจะอยู่หทัยหัวใจ ปลายลมจะอยู่ปลายจมูก นี่มันสลับกันอย่างนี้ กำหนดรู้เมื่อลมผ่านจมูก ผ่านหทัย ผ่านสะดือ พอสุดแล้ว ก็จะเวียนกลับมาอีกเป็นสามจุดนี้ พยายามติดตามลมหายใจเช่นนี้ เรื่อยไป เพื่อรักษาความรู้นั่นแหละ ทำสติสัมปชัญญะของเราให้กล้าขึ้น เมื่อหากว่าเรากำหนดจิตของเรา ให้รู้จักต้นลมกลางลมและปลายลมดีแล้ว พอสมควร เราก็วาง เราจะหายใจเข้าออกเฉยๆ เอาความรู้สึกของเราไว้ปลายจมูก หรือริมฝีปากบน ที่ลมผ่านออกผ่านเข้า เอาแต่ความรู้สึกเท่านั้น ไว้ที่นั่น ไม่ต้องตามลมออกไป ไม่ต้องตามลมเข้ามา เอาความรู้สึกหรือผู้รู้นั่นแหละ ไว้เฉพาะหน้าเราที่ปลายจมูก ให้รู้จักลมผ่านออก ผ่านเข้า ไม่ต้องคิดอะไรมากมาย เพียงแต่ให้มีความรู้สึกเท่านั้นแหละ ให้มีความรู้สึกติดต่อกัน ลมออกก็ให้รู้ ลมเข้าก็ให้รู้ ให้รู้อยู่แต่ที่นั่นแหละ รู้แล้วมันจะเป็นอะไรก็ไม่ต้องคิด เอาเพียงเท่านั้นเสียก่อนในเวลานี้ หน้าที่การงานของเรามีแค่นั้น ไม่ได้มีมาก กำหนดลมเข้าออกอยู่อย่างนั้นแหละ ต่อไปจิตก็จะสงบ ลมก็จะละเอียดเข้าไป น้อมเข้าไป กายก็จะเบาเข้าไป จิตก็จะสงบไป ความเบากายเบาใจนั้น ก็จะเกิดขึ้นมา จะเป็นกายควรแก่การงาน และจะเป็นจิตควรแก่การงานต่อไป นี่คือการทำสมาธิ ไม่ต้องทำอะไรมาก ให้กำหนดเท่านั้น ต่อไปนี้ให้ตั้งใจทำกำหนดไป……
จิตเราละเอียดเข้าไป การทำสมาธินั้น จะไปไหนก็ช่างมัน ให้เรารู้ทันเอาไว้ ให้เรารู้จักมัน มันก็มีทั้งอารมณ์ มีทั้งความสงบคลุกคลีกันไป มันมีวิตก วิตกคือการจะยกจิตของตนนึกถึงอันใดอันหนึ่งขึ้นมา ถ้าสติของเราน้อย ก็จะวิตกน้อย แล้วก็มีวิจารณ์คือ การตรวจดูตามเรื่องที่เราวิตกนั้น แต่ข้อสำคัญนั้น ต้องพยายามรู้ให้ทันอยู่เสมอ แล้วก็พิจารณาให้ลึกลงไปอีก ให้เห็นว่า มีทั้งสมาธิและมีทั้งความรู้รวมอยู่ในนั้นด้วย

กฏแห่งกรรม  เรื่อง  วิธีการทำจิตให้สงบ เพิ่มกำลังของจิต

10 นาที ฝึกจิต สมาธิ เติมพลังยามเช้า (บรรเลง บุพเพสันนิวาส + ออเจ้าเอย)


การฝึกจิต ฝึกสมาธิจะช่วยให้จิตใจผ่องใส ผ่อนคลาย และสงบได้อย่างรวดเร็ว เป็นเรื่องง่าย ๆ ที่ใครๆ ก็สามารถทำได้ ทำเวลาใดก็ได้ ขณะนี้ คนจำนวนมากทั่วโลก ก็หันมาฝึกจิต ฝึกสมาธิกันมากขึ้น
ประโยชน์ดี ๆ มีมากมาย หากเราถ้าทำเป็นประจำแล้ว ประโยชน์ที่เราจะได้รับก็คือ
จิตใจของเราผ่องใส สะอาด บริสุทธิ์ สงบ ช่วยให้หลับสบายคลายกังวล ไม่ฝันร้าย มีบุคลิกภาพดีขึ้น กระปรี้กระเปร่า มีความเชื่อมั่นในตัวเองมากขึ้น รู้สึกควบคุมอารมณ์ จิตใจได้ดีขึ้น
เมื่อฝึกบ่อย ๆ จะมีความจำดีขึ้น มีความรอบคอบมากขึ้น ทำให้เกิดปัญญาในการทำสิ่งใด ๆ ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการใช้ชีวิต การเล่าเรียน และการทำงานดีขึ้น การนั่งสมาธิจะช่วยคลายเครียด และลดความเครียด ความกังวล ที่จะเข้ามากระทบจิตใจได้ เมื่อเราไม่เครียด ร่างกายก็จะหลั่งสารทำให้เกิดความสุข ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง เพราะมีภูมิต้านทานโรคต่างๆ และยังช่วยชะลอความแก่ได้ด้วย จิตใจเราจะอ่อนโยนขึ้น มีความเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เกิดสิ่งที่ดีทั้งทางกาย วาจา และใจ การฝึกสมาธิช่วยให้จิตสงบนิ่งมากขึ้น ระงับอารมณ์โกรธ หงุดหงิด ขุ่นเคืองต่าง ๆ ได้ดี และเมื่อจิตสงบนิ่งแล้วจะมีพลังในการยับยั้งการกระทำทางกาย วาจา ใจที่ไม่ดีได้ ผู้ที่มีจิตเป็นสมาธิ หัวใจเต้นช้าลงซึ่งเป็นผลดีต่อร่างกาย ความตึงตัว ความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อลดลง ส่งผลให้มีสุขภาพดี และช่วยบำบัดโรคได้
เราสามารถฝึกจิต ฝึกสมาธิสามารถได้ทุกที่ ทุกเวลา แต่ถ้าต้องมีความต่อเนื่องยาวนาน เพื่อให้ได้ผลที่ดีอย่างยั่งยื่น
Credit:
ขลุ่ยคีย์ C จาก ช่างวิรัตน์ ทักษิณะมณี
(Thai Flutes by Wirat taksinamanee https://goo.gl/Z2V4Jr)
Backing track https://goo.gl/fjKyax
Backing track https://goo.gl/RRis5k

10 นาที ฝึกจิต สมาธิ เติมพลังยามเช้า (บรรเลง บุพเพสันนิวาส + ออเจ้าเอย)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่INVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment