แต่งตัวไปมหาลัย เลือกชุดนิสิต! I จุฬา | เคมี เทคนิค

You are viewing this post: แต่งตัวไปมหาลัย เลือกชุดนิสิต! I จุฬา | เคมี เทคนิค

แต่งตัวไปมหาลัย เลือกชุดนิสิต! I จุฬา


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

แนะนำการแต่งตัวไปมหาลัย
ตอนเรียนสถาปัตย์จุฬา แต่งตัวกันอย่างไร
แฟชั่นมหาลัย มีเสื้ออะไรบ้าง กระโปรงแบบไหน ซื้อร้านไหน
ช่องทางอื่นๆในการติดตาม
Facebook : praepim
📷: https://www.instagram.com/pimmm_pim/
💌: [email protected]
IG : https://www.instagram.com/praynn/
💌: [email protected]
ชุดนิสิต ชุดนักศึกษา เอนติด

แต่งตัวไปมหาลัย เลือกชุดนิสิต! I จุฬา

Walailak Moving Forward – วิศวกรรมเคมีและเคมีเภสัชกรรม ม.วลัยลักษณ์


Walailak Moving Forward วิศวกรรมเคมีและเคมีเภสัชกรรม ม.วลัยลักษณ์

Walailak Moving Forward - วิศวกรรมเคมีและเคมีเภสัชกรรม ม.วลัยลักษณ์

วิทยาเคมีต่างจากวิศวะเคมีอย่างไร


ชักภาพเคมี by Dr. Chemographer
หลักสูตรวิทยาศาสตร์เคมีกับวิศวกรรมศาสตร์เคมีต่างกันอย่างไร มาหาคำตอบกัน

วิทยาเคมีต่างจากวิศวะเคมีอย่างไร

เทคนิคการใช้ปุ๋ยเคมีให้พืชได้รับธาตุอาหารเต็มที่ ลดสารตกค้าง


ปุ๋ยเคมี เมื่อใส่ลงไปในดิน จะมีโอกาสสูญเสียไปมากกว่าครึ่งหนึ่ง สำหรับธาตุไนโตรเจน และโพแทสเซียม ส่วนฟอสฟอรัสนั้น พืชดึงดูดไปใช้ประโยชน์ได้เพียงไม่เกินร้อยละ ๑๐ ของปริมาณที่ใส่ลงไปในดิน ฟอสฟอรัสที่เหลือทั้งหมด จะทำปฏิกิริยากับดิน กลายเป็นสารประกอบที่ละลายน้ำยาก พืชดึงดูดไปใช้ไม่ได้ ดังนั้นการใส่ปุ๋ยลงไปในดิน เพื่อให้พืชสามารถดึงดูดไปใช้ได้มากที่สุดและสูญ เสียน้อยที่สุด จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ปุ๋ย ชนิดเดียวกัน สูตรเดียวกันใส่ลงไปในดินโดยวิธี แตกต่างกัน พืชจะใช้ประโยชน์จากปุ๋ยได้ไม่เท่ากัน อาทิ ปุ๋ยที่ใส่แบบหว่านจะให้ผลแตกต่างจากปุ๋ยที่ ใส่โรยแบบเป็นแถวหรือเป็นจุดใกล้ต้นพืช ฉะนั้น การใช้ปุ๋ยเคมีให้มีประสิทธิภาพจึงควรมีหลักเกณฑ์ ในการใส่ปุ๋ยที่ควรจะยึดถือเป็นแนวทางดังนี้คือ
(๑) ชนิดของปุ๋ยที่ใช้ถูกต้อง
(๒) ใช้ปุ๋ยในปริมาณที่เหมาะสม
(๓) ใส่ปุ๋ยให้พืชขณะที่พืชต้องการ
(๔) ใส่ปุ๋ยให้พืชตรงจุดที่พืชสามารถดึงดูดไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายและเร็วที่สุด
ไกทางสรีระวิทยา
ไนโตรเจนเป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของเซลล์พืชทำ
หน้าที่หลายอย่างทั้งการสร้าง ซ่อมแซม และการสังเคราะห์แสง
ซึ่งเป็นปัจจัยหลักสำหรับการเจริญเติบโตทางกิ่งและใบของต้นพืช
ฟอสฟอรัสเป็นธาตุสำคัญในการผลิตหน่วยให้พลังงานที่เรียกว่า ATP
ซึ่งจำเป็นสำหรับระยะที่พืชจะกระตุ้นเซลล์เนื้อเยื่อเจริญพื้นฐานให้พัฒนา
เป็นตาดอก ทำให้เกิดดอกจำนวนมากได้
ส่วนโพแทสเซียมเป็นธาตุที่สำคัญ ในกระบวนการลำเลียงสารระหว่างเซลล์
ดังนั้นเมื่อเร่งจนได้ดอกปริมาณมากแล้ว การที่จะทำให้สารอาหารที่พืชสร้างไว้
มาหล่อเลี้ยงดอกและผลได้เต็มที่ทำให้ดอกสวยงาม หรือกลายเป็นผลไม้
คุณภาพดีนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องเสริมธาตุโพแทสเซียม เพื่อสนับสนุน
กระบวนการดังกล่าวนั่นเอง

เทคนิคการใช้ปุ๋ยเคมีให้พืชได้รับธาตุอาหารเต็มที่ ลดสารตกค้าง

ภาควิชาเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


รายการเปิดประะตูสู่มหาวิทยาลัย ช่วง Openhouse Onair
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ออกอากาศวันที่ 03/03/2560

ภาควิชาเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment