โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ป้องกันได้ ด้วยการตรวจประเมินความเสี่ยง | งานวิจัยเกี่ยวกับ stroke

You are viewing this post: โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ป้องกันได้ ด้วยการตรวจประเมินความเสี่ยง | งานวิจัยเกี่ยวกับ stroke

โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ป้องกันได้ ด้วยการตรวจประเมินความเสี่ยง


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบ แตก หรือ สโตรก (Stroke) 2 ใน 3 อาจจะเกิดความพิการไปตลอดชีวิต หากมาถึงโรงพยาบาลช้าเกินไป ในวิดีโอนี้ พญ. จิตรลดา สมาจาร แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา มีคำแนะนำเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง และการป้องกันที่สามารถทำได้ด้วยการตรวจประเมินความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง
ขอเชิญคุณลูกทุกท่าน เปิดแบบทดสอบออนไลน์และชวนคุณแม่ หรือคุณพ่อ มาร่วมทำแบบทดสอบสุขภาพด้วยกัน ใช้เวลาทำไม่นานเพียงตอบคำถามประมาณ 912 ข้อ และฟังคำแนะนำจากคุณหมอในตอนท้ายได้เลยค่ะ
ขั้นตอนทำแบบทดสอบ:
1. เพิ่มสมิติเวชเป็นเพื่อน LINE @Samitivej หรือ คลิก https://smtvj.com/3eN6IVj
2. พิมพ์ \”MOM\” ในกล่องข้อความของ LINE
3. เลือกทำแบบทดสอบสุขภาพที่สนใจได้เลยค่ะ
(1) สัญญาณเตือนโรคอัลไซเมอร์ (2) ประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจ หรือ (3) ประเมินความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
อ่านบทความเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง ได้ที่นี่ https://www.samitivejhospitals.com/th/ตรวจหลอดเลือดสมอง/
แนะนำโปรแกรมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง: โปรแกรมตรวจโรคหลอดเลือดสมอง https://www.samitivejhospitals.com/th/promotions/momตรวจเส้นเลือดในสมอง/
ขอขอบคุณข้อมูลดีๆ จาก
พญ.จิตรลดา สมาจาร
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหลอดเลือด และสมอง
เราไม่อยากให้ใครป่วย SamitivejHospital โรงพยาบาลสมิติเวช

โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ป้องกันได้ ด้วยการตรวจประเมินความเสี่ยง

ประเมิน NIHSS ใน acute stroke


ประเมิน NIHSS ใน acute stroke
เลื่อนไปนาทีที่ 7 8 เลยนะครับ

ประเมิน NIHSS ใน acute stroke

Transcranial Magnetic Stimulation : Research Impact [by Mahidol World]


Stroke is the leading cause of longterm disability worldwide. Therefore, it is critical to find optimal allocation of intervention that will reduce disability, lessen the societal burden, and provide a standardized evidencebased treatment. Limited recovery of upper extremity function including reachtograsp actions is one of the most disabling consequences of stroke. Among stroke survivors, only 5% regain full arm function. These statistics attest to the need for intervention strategies to promote upper extremity recovery. Transcranial Magnetic Stimulation (TMS) is a noninvasive and painless brain stimulation in living humans. The repetitive TMS (rTMS) can restore an
interhemispheric imbalance in stroke, thereby improve the paretic hand function.
At the Faculty of Physical Therapy, Mahidol University, there have been series of clinical trials completed, continuing from generation to generation. We demonstrated that taskoriented training and repetitive training were augmented by rTMS in subacute and chronic stroke. The longterm effects of rTMS for stroke and applications for other neurological conditions, e.g. Parkinson’s disease and autistic spectrum sport injuries are under way. The novel knowledge on type,
intensity of motor training and the parameters of rTMS are transferred into numbers of classes in the master and doctoral programs. The research and academic integration is one of the strategies to strengthen the globalcompetent education, such that the classes teaching at graduate level
are evidencebased content. This strategy leads to the sustainable body of knowledge that is transferred directly from laboratory to classroom as well as to a real clinical setting.
ช่อง YouTube : Mahidol World
Facebook : http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล : https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/

Transcranial Magnetic Stimulation : Research Impact [by Mahidol World]

32 Service [by Mahidol] STROKE โรคหลอดเลือดสมอง…รู้ทันรักษาได้


โรคหลอดเลือดสมอง เป็นการหยุดการทำงานของสมองอย่างฉับพลันโดยมีสาเหตุจากการรบกวนการทำงานของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง เช่น เส้นเลือดสมองตีบ เส้นเลือดสมองแตก เลือดสมองตัน โรคหลอดเลือดในสมอง เป็นโรคที่เราทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ไม่ควรประมาท เพราะถ้ามีภาวะตีบ แตก ตัน ของเส้นเลือดในสมอง จะส่งผลเสียให้คนไข้อาจเป็นอัมพาตและเสียชีวิตได้ ใครจะมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง และเราจะดูแลรักษา กายภาพฟื้นฟูคนไข้ได้อย่างไร วันนี้รายการ 32 Service ของเรามีคำตอบให้กับท่านผู้ชม โดยมี อ.จารุกูล ตรีไตรลักษณะ อาจารย์ประจำคณะกายภาพบำบัด ม.มหิดล มาให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลคนไข้โรคหลอดเลือดสมอง
รถพังยังซ่อมได้ แต่อวัยวะคนเสียจะซ่อมอย่างไร พบรายการสุขภาพดี ที่มาช่วย ซ่อม สร้างร่างกายด้วยวิธีบำบัดที่ถูกต้องและ ปลอดภัยจากโรค โดยนักกายภาพบำบัด มืออาชีพของมหาวิทยาลัยมหิดล ในรายการ 32 Service ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 15.30 16.00 น. ทางไทยพีบีเอส Thai PBS และทาง YouTube : Mahidol Channel
YouTube : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook : http://www.facebook.com/mahidolchannel
Website : https://channel.mahidol.ac.th/

32 Service [by Mahidol] STROKE โรคหลอดเลือดสมอง…รู้ทันรักษาได้

ป้องกัน STROKE โรคหลอดเลือดสมอง


การป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง

ป้องกัน STROKE โรคหลอดเลือดสมอง

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment