10 เรื่องจริงที่น่าทึ่งของสมองมนุษย์ | วิจัยการรับรู้

You are viewing this post: 10 เรื่องจริงที่น่าทึ่งของสมองมนุษย์ | วิจัยการรับรู้

10 เรื่องจริงที่น่าทึ่งของสมองมนุษย์


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สมอง เป็นศูนย์กลางของระบบประสาทที่ทำหน้าที่ควบคุมและสั่งการการทำงานของร่างกาย อีกทั้งยังมีหน้าที่สำคัญเกี่ยวข้องกับการรับรู้ อารมณ์ ความจำ การเรียนรู้ การเคลื่อนไหว ซึ่งอาจเปรียบเทียบได้กับซีพียูและแรมของเครื่องคอมพิวเตอร์ และยังสามารถพัฒนาไปได้ไม่สิ้นสุดด้วยเซลล์สมองที่มีมากกว่า 1 แสนล้านเซลล์ และนี่คือ 10 เรื่องจริงที่น่าทึ่งของสมองมนุษย์
สมอง ระบบประสาท ร่างกาย
✪ กดติดตามช่อง\r
https://goo.gl/ogRJJL\r
\r
✪ ติดต่อโฆษณา หรือ Sponsor ช่อง ได้ทาง \r
https://www.facebook.com/abdulthaitube\r
\r
✪ จ้างอับดุลย์พากษ์เสียงได้นะครับ\r
https://www.facebook.com/abdulthaitube/posts/1769821226457306

10 เรื่องจริงที่น่าทึ่งของสมองมนุษย์

20 ความจริงทางจิตวิทยา


20 ความจริงทางจิตวิทยา ที่จะทำให้คุณมองโลกเปลี่ยนไป
ที่มา:https://goo.gl/yuFGNf
Facebookแฟนเพจ : http://goo.gl/DCyxKD
Facebook: แอดมิน : :https://www.facebook.com/fang.jutamard
iG : https://goo.gl/e9pFw4

20 ความจริงทางจิตวิทยา

นำเสนองานวิจัยการรับรู้สมาคมฯ


วันที่4/5/2558 ทางกลุ่ม8 MK321 section 3212.ได้นำเสนอผลการวิจัยการรับรู้ภาพลักษณ์สมาคมผู้รวบรวมและจำหน่ายเมล็กพันธ์ข้าวของกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้แก่สมาคมฯ

นำเสนองานวิจัยการรับรู้สมาคมฯ

การรับรู้ศิษย์เก่าNUKKUI63


การศึกษาเชิงคุณภาพถึงการรับรู้ภาวะผู้นำในตนเองของศิษย์เก่าในหลักสูตรปริญญาตรีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การรับรู้ศิษย์เก่าNUKKUI63

งานวิจัย การรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ อัตลักษณ์ Brand Mascot


อ้างอิงงานวิจัยนี้ โดย
Arunrangsiwed, P., \u0026 Klahan, T. (2019). The Influence of Endorsers’ Attractiveness and Similarilty Identification on Perceivevd Product Value. SSRU Journal of Management Science, 6(1), 1328.
พราว อรุณรังสีเวช และ ฐิติมา กล้าหาญ. (2562). อิทธิพลของความน่าดึงดูดและความคล้ายคลึงกับผู้บริโภคของผู้รับรองผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อการรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 6(1), 1328.

งานวิจัย การรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ อัตลักษณ์ Brand Mascot
The Influence of Endorsers’ Attractiveness and
Similarity Identification on Perceived Product Value
พราว อรุณรังสีเวช
ฐิติมา กล้าหาญ

บทคัดย่อ
ตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ เพื่อทดสอบอิทธิพลของผู้รับรองผลิตภัณฑ์ ประกอบไปด้วย 3 ด้าน คือ ความน่าดึงดูด, ลักษณะภายนอกที่คล้ายคลึงกับผู้บริโภค, และ ทัศนคติที่คล้ายคลึงกับผู้บริโภค ที่มีผลต่อการรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ ในการเก็บข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 350 คนได้ถูกสุ่มเลือกโดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มจากเขตต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร การวิเคราะห์ถดถอยได้ถูกนำมาใช้เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของตัวแปรต้นทั้ง 3 ตัว ที่มีผลต่อการรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ โดยทดสอบ 3 โมเดล คือ โมเดลภาพรวม, โมเดลที่วิเคราะห์เฉพาะผู้รับรองผลิตภัณฑ์ที่เป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง และโมเดลที่ผู้รับรองผลิตภัณฑ์เป็นตุ๊กตาสัญลักษณ์ ผลการวิจัยพบว่า ความน่าดึงดูดของผู้รับรองผลิตภัณฑ์ไม่สามารถทำนายตัวแปรตามได้ในทั้ง 3 โมเดล แต่การที่ผู้บริโภครับรู้ว่า ทัศนคติของตนมีความคล้ายคลึงกับผู้รับรองผลิตภัณฑ์นั้น มีความสามารถในการทำนายตัวแปรตามได้ในทั้ง 3 โมเดล ส่วนการรับรู้ความคล้ายคลึงของลักษณะภายนอก มีอำนาจในการทำนายในโมเดลภาพรวมและตุ๊กตาสัญลักษณ์ แต่ไม่สามารถทำนายการรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ในโมเดลของบุคคลที่มีชื่อเสียง งานวิจัยในอนาคตควรวิเคราะห์ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความเป็นตัวตนของผู้บริโภค เช่น การรับรู้ความคล้ายคลึงในงานวิจัยด้านการตลาด ผลการวิจัยสามารถช่วยแนะนำว่านักการตลาดควรหาแนวทางพัฒนาขีดความสามารถของตุ๊กตาสัญลักษณ์ เพื่อให้สามารถสื่อสารต่อผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิผล
คำสำคัญ: ผู้รับรองผลิตภัณฑ์ การรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ ความเป็นตัวตนด้านความคล้ายคลึง ความน่าดึงดูด

Abstract
The objective of the current study is to examine the effect of product endorsers’ attractiveness, perceived appearance similarity, and perceived attitude similarity on consumers’ perceived product value. For data collection, 350 participants were randomly selected from Bangkok city and they were asked to complete the questionnaire. Regression analysis was used to test three models, including overall model, celebrityonly, and brandmascotonly model. Endorsers’ attractiveness failed to predict perceived product value in all three models, but perceived attitude similarity was an enabling predictor of all. Perceived appearance similarity had a significant effect on independent variable in both overall and brand–mascotonly model, but not in celebrityonly model. Future study should include identificationrelated variables such as perceived similarity in marketingrelated research studies. The results of this study help suggest that marketing practitioners should enhance the ability of brand mascots in order to effectively deliver the message to the consumers.

Keywords: Product Endorser, Perceiver Product Value, Similarity Identification,
Attractiveness

งานวิจัย การรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ อัตลักษณ์ Brand Mascot

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment