3ช่า คาราบาว มันส์ๆ โจ๊ะๆ ฮิตๆของเก่า | พลาสติกรีไซเคิล 7 ประเภท

You are viewing this post: 3ช่า คาราบาว มันส์ๆ โจ๊ะๆ ฮิตๆของเก่า | พลาสติกรีไซเคิล 7 ประเภท

3ช่า คาราบาว มันส์ๆ โจ๊ะๆ ฮิตๆของเก่า


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

3ช่า คาราบาว มันส์ๆ โจ๊ะๆ ฮิตๆของเก่า

7ประเภทพลาสติก รีไซเคิล?


7ประเภทพลาสติก รีไซเคิล?

SCG – THE PLASTIC TRUTH EP.1 7 ประเภทพลาสติกในชีวิตประจำวัน


คุณรู้จักพลาสติกดีแค่ไหน?
พลาสติกเป็นเหมือนส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน แต่พฤติกรรมที่คนส่วนใหญ่ใช้พลาสติกกันคือใช้แค่ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ทั้งที่ความจริงแล้วพลาสติกต่างๆ เหล่านั้นยังสามารถใช้ซ้ำได้อีกหลายครั้ง
ถ้ารู้จักชนิดและประเภทของพลาสติก ก็จะสามารถแยกขยะพลาสติกตามชนิดและประเภทได้ด้วยตัวเอง เพื่อจะได้นำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ
ต่อไปนี้คือประเภทของพลาสติกที่รีไซเคิลได้ 7 ประเภท ที่ยิ่งรู้จักก็จะยิ่งใช้ไห้คุ้ม
SCG SCGCircularway ThePlasticTruth
ร่วมเป็นหนึ่งในแนวปฏิบัติ SCG Circular Way ได้ที่ http://bit.ly/38o5FYc

SCG - THE PLASTIC TRUTH EP.1 7 ประเภทพลาสติกในชีวิตประจำวัน

พลาสติก 7 ประเภทที่รีไซเคิลได้


พลาสติก 7 ประเภทที่รีไซเคิลได้
โดย อ.กมล อุ่นเรือน อาจารย์แผนกการตลาด วิทยาลัยอี.เทค

พลาสติก 7 ประเภทที่รีไซเคิลได้
1. โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต Polyethylene Terephthalate (PET หรือ PETE) ขวดบรรจุน้ำดื่ม น้ำมันพืช
2. โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง High Density Polyethylene (HDPE) ขวดนม และบรรจุภัณฑ์สำหรับน้ำยาทำความสะอาด ยาสระผม
3. โพลิไวนิลคลอไรด์ Polyvinylchloride (PVC) ท่อน้ำประปา สายยางใส แผ่นฟิล์มห่ออาหาร พลาสติกทำประตู หน้าต่าง
4. โพลีเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำ Low Density Polyethylene (LDPE) ใช้ทำฟิล์มห่ออาหาร และห่อสิ่งของ
5. โพลิโพรไพลีน Polypropylene (PP) ภาชนะบรรจุอาหาร ถัง ตะกร้า กระบอกน้ำ ขวดบรรจุยา
6. โพลีสไตรีน Polystyrene (PS) โฟมใส่อาหาร
7. พลาสติกอื่นๆ Otherไม่ใช่พลาสติกชนิดใดที่จัดอยู่ใน 6 กลุ่มข้างต้นแต่สามารถนำมาหลอมใหม่ได้

Production Team
Teacher : อ.กมล อุ่นเรือน
Adviser : ดร.ประเสริฐ กลิ่นชู, อ.อนวัช เสมบัว
Producer/Edit : อ.สุดเขต หนูรอด
Photography : อ.เฉลิมพล บุตตะ

พลาสติก 7 ประเภทที่รีไซเคิลได้

ทางรอดขยะพลาสติกผ่านธุรกิจขยะ I City Survive EP.1


“สำหรับปัญหาขยะพลาสติก หากเราไม่ได้จัดการหรือร่วมมือกันแก้ไขทุกฝ่ายอย่างเป็นระบบ ทุกฝ่ายยังทำแบบที่ทำกันอยู่ ในปี ค.ศ. 2050 คาดการณ์ว่าจะมีขยะพลาสติกมากกว่าปลาในทะเล” นี้คือหนึ่งในบทสัมภาษณ์จากสารคดี City Survive ทางรอดขยะพลาสติก ผ่านธุรกิจขยะ
.
City Survive รายการสารคดีที่ว่าด้วยเรื่องการแก้ปัญหาเมืองอย่างสร้างสรรค์ ในตอนแรกนี้เราจึงหยิบยกปัญหาขยะพลาสติกขึ้นมาบอกเล่าและตีแผ่ถึงปัญหา และร่วมหาทางรอดไปพร้อมกัน กับหนึ่งทางออกอย่างสร้างสรรค์คือการนำขยะเหล่านี้มาทำเป็นธุรกิจ ให้ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ร่วมกัน มนุษย์ได้ ภาคธุรกิจได้ โลกได้ สิ่งแวดล้อมได้ และความยั่งยืนได้ รวมไปถึงคำถามที่ว่าพลาสติกนั้นผิดจริงๆ หรือหากไม่มีผิดถูกเราจะอยู่ร่วมกับพลาสติกอย่างไรให้ทั้งเราและโลกไปต่อได้ หลายคำตอบรวมอยู่ในสารคดีทางรอดขยะพลาสติก ผ่านธุรกิจขยะนี้
.
UrbanCreature Insight CitySurvive TrashLucky ปราบขยะ

ทางรอดขยะพลาสติกผ่านธุรกิจขยะ  I City Survive EP.1

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่BUSINESS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: BUSINESS

Leave a Comment