57-3211603 โรคหลอดเลือดสมอง | โรค sbp

You are viewing this post: 57-3211603 โรคหลอดเลือดสมอง | โรค sbp

57-3211603 โรคหลอดเลือดสมอง


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

573211603 MEDICINE FOR GENERAL DENTIST
โรคหลอดเลือดสมอง

57-3211603 โรคหลอดเลือดสมอง

TNN LIFE NEWS : โรคภัยใกล้ตัว โรค ms หรือปลอกประสาทเสื่อม


โรค MS หรือโรคปลอกประสามเสื่อม เกิดขี้นได้ไม่ยาก ส่วนมากจะเป็นผู้ที่มีอายุ 2040 ปี หากปล่อยเอาไว้ไม่รับการรักษาอาจทำให้ทุพพลภาพได้ โดยเรามีข้อมูลและวิธีรักษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

TNN24 ออกอากาศทางทีวีช่อง 16
ชมสดได้ที่ http://www.tnnthailand.com/player.php
เกาะติดข่าวเด่นประจำวันได้ที่
http://www.tnnthailand.com
http://www.fb.com/TNN24
http://twitter.com/tnnthailand
https://www.instagram.com/tnnthailand/
สถานีข่าวโทรทัศน์ TNN24 เป็นสถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น ทันทุกความจริง รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ

TNN LIFE NEWS : โรคภัยใกล้ตัว โรค ms หรือปลอกประสาทเสื่อม

สถานีสุขภาพดี ep.18 ไวรัสตับอักเสบมีกี่ชนิด อาการและการติดต่อของโรค


สัมภาษณ์ น.อ.(พิเศษ) นพ.ชินวัตร์ สุทธิวนา อายุรแพทย์จาก CP Medical Center ถึงเรื่องไวรัสตับอักเสบมีกี่ชนิด อาการและการติดต่อของโรค

สถานีสุขภาพดี ep.18 ไวรัสตับอักเสบมีกี่ชนิด อาการและการติดต่อของโรค

สุขภาพสายตา : โรคอาร์พี (Retinitis pigmentosa) โดย แพทย์หญิง ณัฐธิดา นิ่มวรพันธุ์


มาทำความรู้จัก Retinitis pigmentosa (RP) คนไทยมักเรียกว่า โรคอาร์พี หรือโรคจอประสาทตามีสารสี คือ โรคจอประสาทตาเสื่อมที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม เกิดจากการเสื่อมสภาพของเซลล์รับแสงของจอประสาทตา (retina) ซึ่งประกอบด้วยเซลล์รับแสง 2 ชนิด คือ เซลล์รูปแท่ง (rod cells) และเซลล์รูปกรวย (cone cells)
📢 โรคอาร์พี (Retinitis pigmentosa)
Retinitis pigmentosa (RP) คนไทยมักเรียกว่า โรคอาร์พี หรือโรคจอประสาทตามีสารสี คือ โรคจอประสาทตาเสื่อมที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม เกิดจากการเสื่อมสภาพของเซลล์รับแสงของจอประสาทตา (retina) ซึ่งประกอบด้วยเซลล์รับแสง 2 ชนิด คือ เซลล์รูปแท่ง (rod cells) และเซลล์รูปกรวย (cone cells) โดยเซลล์รูปแท่งมีจำนวนประมาณ 120 ล้านเซลล์ กระจายตัวอยู่ทั่วจอประสาทตา ยกเว้นตรงจุดภาพชัด (fovea) และขั้วประสาทตา (optic disc) เป็นเซลล์รับแสงที่มีหน้าที่ในการมองในที่สลัวหรือมืด และช่วยในการมองด้านข้าง ส่วนเซลล์รูปกรวยมีจำนวนประมาณ 6 ล้านเซลล์ กระจายตัวอยู่ทั่วจอประสาทตาและจะหนาแน่นมากที่สุดบริเวณจุดศูนย์กลางรับภาพ (macular) เป็นเซลล์รับแสงที่ทำหน้าที่ในการเห็นในตอนกลางวัน การมองตรง การอ่าน และการมองเห็นสี

📢 โรคอาร์พีพบได้ทั้งหญิงและชาย อุบัติการณ์พบได้ประมาณ 1 ใน 3,000 คน ยีนที่ก่อให้เกิดโรคอาร์พีนั้นมีมากกว่า 100 ยีนที่เกี่ยวข้องและยังพบยีนตัวใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แบบแผนการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของโรคอาร์พีนั้นมีได้หลายแบบ ดังนี้
1. การถ่ายทอดแบบยีนเด่นบนโครโมโซมร่างกาย (Autosomal dominant, AD) คือ มีการกลายพันธุ์ของยีนบนโครโมโซมร่างกาย ที่สามารถแสดงลักษณะที่ผิดปกติได้เหนือกว่ายีนปกติ ซึ่งการถ่ายทอดทางพันธุกรรมลักษณะนี้โดยทั่วไปจะแสดงอาการของโรคในทุกๆรุ่นของทายาท ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีอาการแสดงของโรคอาร์พีเมื่ออายุเข้าสู่วัยรุ่นไปแล้ว และความรุนแรงของโรคค่อนข้างน้อย
2. การถ่ายทอดแบบยีนด้อยบนโครโมโซมร่างกาย (Autosomal recessive, AR) มีการกลายพันธุ์ของยีนบนโครโมโซมร่างกาย ซึ่งจะต้องมียีนกลายพันธุ์ในลักษณะพันธุ์แท้ (คือได้รับยีนที่กลายพันธุ์ทั้งจากพ่อและแม่) จึงจะสามารถแสดงลักษณะที่ผิดปกติได้ มักแสดงความผิดปกติในรุ่นทายาทเพียงรุ่นเดียว ผู้ป่วยโรคอาร์พีกลุ่มนี้มักมีอาการแสดงตั้งแต่เด็ก
3. การถ่ายทอดแบบยีนด้อยบนโครโมโซมเอกซ์ (Xlinked recessive, XL) คือ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบยีนด้อยของโครโมโซมเพศชนิด X ซึ่งมักจะแสดงอาการผิดปกติในเพศชายได้มากกว่าเพศหญิง เนื่องจากเพศชายมีโครโมโซมชนิด X เพียงแท่งเดียว ผู้ป่วยโรคอาร์พีกลุ่มนี้มักมีอาการแสดงตั้งแต่เด็ก และอาการแสดงของโรคมักรุนแรง
4. การถ่ายทอดแบบอื่นซึ่งพบน้อย คือ การถ่ายทอดแบบสองยีน (Digenic) และการถ่ายทอดผ่านไมโตคอนเดรีย (mitochondrial inheritance)
ถึงแม้โรคนี้จะมีความหลากหลายในการถ่ายทอดทางพันธุกรรม แต่ก็มีผู้ป่วยอาร์พีมากกว่าครึ่งที่ไม่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้มาก่อน

🔍 โรคอาร์พีสามารถแบ่งตามอาการที่พบได้ 2 กลุ่ม คือ
1. โรคอาร์พี่ที่ไม่ได้เป็นกลุ่มอาการ (Nonsyndromic RP) คือมีอาการเฉพาะที่ตาเท่านั้น ซึ่งผู้ป่วยอาร์พีส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มนี้
2. โรคอาร์พีที่เป็นกลุ่มอาการ (Syndromic RP) คือมีอาการทางตาร่วมกับความผิดปกติของอวัยวะอื่นๆ เช่น Usher syndrome, Bardetbiedl syndrome เป็นต้น
ในบทความนี้จะกล่าวถึงเฉพาะอาการทางตาของโรคอาร์พีเท่านั้น อาการของโรคอาร์พี

🔍 การรักษาโรคอาร์พี
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาโรคอาร์พี ส่วนใหญ่จะเน้นใช้อุปกรณ์ เช่น แว่นขยาย ไฟฉาย เพื่อช่วยให้การใช้ชีวิตประจำวันสะดวกขึ้น และแนะนำให้สวมแว่นกันแดดอย่างสม่ำเสมอ
อย่างไรก็ตามก็มีการศึกษาวิจัยเพื่อหาทางรักษาโรคอาร์พีอย่างต่อเนื่อง เพื่อหวังว่าผู้ป่วยสามารถฟื้นฟูการมองเห็นกลับมาได้ระดับนึงและไม่มีการเสื่อมของจอประสาทตามากขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีสองวิธีที่น่าสนใจ คือ
1. ยีนบำบัด (Gene therapy) เป็นการใช้ไวรัสเป็นพาหะนำยีนที่ปกติ และนำไปฉีดเข้าน้ำวุ้นตาของผู้ป่วย เพื่อให้ยีนปกติไปทดแทนยีนที่เกิดกลายพันธุ์ การรักษาด้วยวิธีนี้ผู้ป่วยต้องตรวจพบการกลายพันธุ์ของยีนก่อโรคก่อน
2. การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด (Stem cell transplantation) เป็นการเก็บตัวอย่างไขกระดูกของผู้ป่วยมาเพาะเลี้ยง และนำฉีดเข้าน้ำวุ้นตาของผู้ป่วย เพื่อให้ยีนปกติไปทดแทนยีนที่เกิดกลายพันธุ์ การรักษาด้วยวิธีนี้ไม่จำเป็นต้องตรวจการกลายพันธุ์ของยีนก่อโรค
อย่างไรก็ตามการศึกษาวิจัยทั้งสองวิธีนี้ยังอยู่ในขั้นการศึกษาวิจัยเชิงทดลองทางคลินิก ซึ่งผลการวิจัยต้องใช้ระยะเวลาในการศึกษาเพื่อให้ทราบผลที่แน่ชัด
โดย แพทย์หญิง ณัฐธิดา นิ่มวรพันธุ์
( จักษุแพทย์ที่ปรึกษาประจำศูนย์แว่นตาไอซอพติก )
อ่านรายละเอียดฉบับเต็ม คลิก
: https://www.isoptik.com/th/p/4746
สอบถามข้อมูลได้ที่
👉 LINE ID : @isoptik คลิก : https://line.me/R/ti/p/%40isoptik
👉 Inbox คลิก : m.me/isoptik
📞 โทร : 0865655711
📞 สายด่วน ปรมาจารย์โบบิ : 0815384200
🚗 การเดินทางมาไอซอพติก คลิก : https://is.gd/isoptikmap
✅ แว่นโปรเกรสซีฟอัจฉริยะไอซอพติก ดีอย่างไร ?
อ่านต่อคลิก :
www.isoptik.com/th/topendultra/2298
✅ คุณภาพการมองเห็นมีผลกับ คุณภาพชีวิตอย่างไร ?
อ่านต่อคลิก :
www.isoptik.com/th/ultraprogressive/836
🏆 ศูนย์แว่นตาไอซอพติกได้รับรางวัล Premium Products of Thailand 2015 อ่านต่อคลิก :
www.isoptik.com/th/interview/bobi/809

โรคตา สุขภาพสายตา จักษุแพทย์ จอประสาทตาเสื่อม หมอตา ความรู้สายตา ตรวจตา วัดตา สุขภาพ ดวงตา สายตา ตัดแว่น ร้านแว่นตา แว่นสายตา ไอซอพติก isoptik

สุขภาพสายตา : โรคอาร์พี (Retinitis pigmentosa) โดย แพทย์หญิง ณัฐธิดา นิ่มวรพันธุ์

โรคความดัน หายได้ ไม่ใช้ยา 5ขั้นตอน l 10นาทีกับหมอต่อ


รับปรึกษาปัญหาด้านความงาม ผิว และสุขภาพ โดย นพ.วชิรวิทย์ กิตติรัตน์พัฒนา
fanpage ถามตอบปัญหา https://bit.ly/30fr3Nh
Youtube : http://www.youtube.com/c/10นาทีกับหมอต่อ​
.
สั่งซื้อสินค้า ครีมบำรุงผิว เซรั่มหน้าใส ครีมรักษาสิว กันแดดชนิดไม่อุดตัน
website : https://bit.ly/3ea0l0H
Facebook : https://bit.ly/38dV0Sm
LINE : https://bit.ly/3sSh1hA
Shopee : https://bit.ly/3ebT40p
IG : https://bit.ly/38drCf6

โรคความดัน หายได้ ไม่ใช้ยา 5ขั้นตอน l 10นาทีกับหมอต่อ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment