6 วิธี \”การออมเงินง่ายๆ\” I จตุพล ชมภูนิช I Supershane Thailand | สูตรการออมเงิน

You are viewing this post: 6 วิธี \”การออมเงินง่ายๆ\” I จตุพล ชมภูนิช I Supershane Thailand | สูตรการออมเงิน

6 วิธี \”การออมเงินง่ายๆ\” I จตุพล ชมภูนิช I Supershane Thailand


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

6 วิธีออมเงินง่ายๆ
(1) ตั้งเป้าหมาย
(2) เก็บตอนได้มา
(3) เก็บเศษตังค์
(4) เก็บแบงค์ 50
(5) เก็บเลขท้ายแบงค์
(6) มีวินัย ชนะใจตัวเอง
==============================
ฝากติดตาม
กด Like
กด Share
กด Subscribe
เพื่อเป็นกำลงใจในการทำคลิปต่อๆไปด้วยนะครับ
ขอบคุณทุกคนที่รับชม….
=================================
6 สิ่งที่ทำ นำไปสู่ความสำเร็จ
https://www.youtube.com/watch?v=zRuHxA3Vfco\u0026t=41s
======================================
บรรยาย ทอล์คโชว์ อบรม สัมมนา
ติดต่องานโดยตรง…
สถาบันฝึกอบรม บริษัท เทรน แอนด์ ทอล์ค จำกัด
วิทยากรโดย : จตุพล ชมภูนิช
Tel. 0842246541 , 0865655641 (office)
www.jatuponechompoonich.com
Email : [email protected]
ติดตามผลงานต่างๆ ได้ที่ Facebook , Instagram , Line@ ตามลิงก์ด้านล่างครับ
https://www.facebook.com/jatuponechom…
https://www.instagram.com/jatuponecho…
Line@ : http://line.me/ti/p/%40sjm2414w

6 วิธี \

กฎบริหารเงิน ด้วยสูตร 50 30 20 | รู้เท่าธัน EP.10


เราจะพาทุกคนมารู้จักกับสูตรการเงิน 50 : 30 : 20
เป็นสูตรที่เราสามารถนำบริหารจัดการและตั้งงบประมาณกับการใช้จ่ายของเราในแต่ละเดือน ซึ่งสูตรนี้เป็นเทคนิคช่วยเก็บออมเงินที่คนต่างประเทศนิยมใช้เหมือนกัน มีคนใช้สูตรนี้เยอะขนาดนี้แสดงว่าวิธีนี้ใช้ได้ผลจริง
เริ่มจากเราได้เงินมาก้อนนึง ไม่ว่าจะเกิดจากการทำงาน เงินเดือน รวมถึงจากการค้าขาย การทำธุรกิจส่วนตัว หลังจากหักค่าใช้จ่ายต่างๆ สมมติเป็นพนักงานเงินเดือน ค่าใช้จ่ายที่โดนหัก เช่น ประกันสังคม, กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ, ภาษี ณ ที่จ่าย เป็นต้น หักแล้วเหลือเท่าไหร่ตรงส่วนนี้เราจะนับเป็น 100%
เมื่อได้ 100% แล้ว เราจะมาซอยมาแบ่งย่อยตามสัดส่วนกัน ดังนี้
ก้อนที่ 1 50% คือ Needs หรือ ความจำเป็นในชีวิต
ในส่วนแรกนี้เราจะแบ่งเงินไว้เงินสำหรับใช้จ่ายเพื่อความจำเป็นในชีวิต เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ ต้องใช้เพื่อดำรงชีวิต เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าอาหาร ค่าเดินทาง ผ่อนบ้าน ผ่อนรถ
ก้อนที่ 2 30% คือ Wants หรือ สิ่งที่เราอยากได้
ในส่วนนี้จะเอาไว้สำหรับใช้จ่ายเพื่อการตอบสนองความพึงพอใจของเรา หรือเรียกอีกคำว่า ค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ซื้อ เช่น ซื้อของขวัญให้ตัวเอง ช้อปปิ้งต่างๆ ดูหนัง ท่องเที่ยว รวมถึงไปกินบุฟเฟ่ กินอาหารหรูๆ สักมื้อ
ก้อนที่ 3 20% คือ Investment and Emergency
ส่วนสุดท้ายนี้จะเป็นเงินสำหรับไปลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ เช่น หุ้น กองทุน ทองคำ อสังหาฯ เป็นต้น หรืออาจจะนำเงินส่วนนี้ไปลงทุนเพื่อนวางแผนอนาคต ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนเกษียณ วางแผนการศึกษาลูก วางแผนลงทุนทำธุรกิจ รวมถึงวางแผนเรื่องสภาพคล่องทางการเงินของเรา แบ่งเงินส่วนนี้มาเก็บออมเป็นเงินสำรองฉุกเฉินไว้ใช้ในช่วงเกิดวิกฤตดังเช่นตอนนี้ที่พวกเรากำลังเจอกับสถานการณ์ไวรัส COVID19
ในช่วงสถานการณ์แบบนี้ เรายิ่งควรมีเงินเก็บและเงินสำรองฉุกเฉินเตรียมพร้อมไว้ เผื่อเกิดอะไรขึ้นในอนาคตเราจะได้มีเงินส่วนนี้มาใช้จ่ายได้ และเราควรมีเงินสำรองฉุกเฉินอย่างน้อย 36 เดือน โดยเราจะคิดจากค่าใช้จ่ายรายเดือนเป็นหลักครับ
ยังไงก็ลองนำหลักการนี้ไปใช้กันดูนะครับ เราจะได้มีการบริหารจัดสรรเงินให้เป็นสัดส่วนมากขึ้น และการมีเงินออมเยอะๆก็จะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป
กฎบริหารเงิน การออมเงิน
…………………
ฝากกด Subscribed เป็นกำลังใจให้พวกเราด้วยนะครับ
ติดตาม Cashury ช่องทางอื่นๆ ได้ที่
Facebook : https://facebook.com/Cashury.th
IG : https://www.instagram.com/cashury.th
Blockdit : https://www.blockdit.com/cashury

กฎบริหารเงิน ด้วยสูตร 50 30 20  | รู้เท่าธัน EP.10

วางแผนเก็บเงินยังไง ให้มีเงินเก็บเงินออมทุกๆเดือน


วางแผนเก็บเงินยังไง ให้มีเงินเก็บเงินออมทุกๆเดือน
มีรายได้มากขึ้นจะออมได้มากขึ้น
ก่อนจะเข้าเนื้อหาครับมีเรื่องหนึ่งที่ผมอยากจะชวนทุกคนคุยกันก่อนครับเป็นเรื่องที่หลายๆคนอย่าเข้าใจผิดกันอยู่นะครับหลายคนยังมีความเชื่อครับว่า
การที่เรามีรายได้มากขึ้นเนี่ยมันจะทำให้เราสามารถออมได้มากขึ้น สามารถเก็บเงินได้มากขึ้น
ซึ่งจากประสบการณ์ที่ผ่านมากับตัวเองนะครับแล้วจะไปหลายคนที่เคยให้คำปรึกษามาต้องบอกว่าเรื่องนี้ไม่เป็นความจริงเลยนะครับการที่เรามีรายได้มากขึ้นเงินเดือนมากขึ้นไม่ได้หมายความว่าเราจะสามารถเก็บเงินได้มากขึ้นเลยนะเพราะอะไรรู้ไหมครับเพราะว่าธรรมชาติของพวกเราทุกคนนะครับเราทุกคนเนี่ยมีความสามารถที่จะขยับรายจ่ายให้สูงตามรายได้ได้อยู่เสมอครับคือช่วงเวลาหนึ่งครับรายได้น้อยเราก็จะมีไลฟ์สไตล์แบบนึง กินอยู่ใช้จ่ายแบบนึง
แต่พอรายได้เราสูงขึ้นครับและสไตล์ของเราก็จะเปลี่ยนไปการกินการอยู่การใช้จ่ายของเราก็จะเปลี่ยนไปอีกแบบครับดังนั้นต้องบอกเลยนะว่าถ้าเกิดว่าเราไม่ได้วางแผนในการเก็บเงินหรือการออมเงินไว้เนี่ยผมรับประกันเลยครับว่าต่อให้เงินเดือนสูงขนาดไหนนะครับเงินก็มีที่ให้ใช้อยู่เสมอครับ
อยากให้ทุกคนลบความเชื่อทิ้งไปเลยนะครับการออมการเก็บเงินจริงๆแล้วเป็นนิสัยครับที่สามารถฝึกที่สามารถเริ่มต้นได้ตั้งแต่วันที่รายได้ยังไม่มาก ความรักก็คือยิ่งเราเก็บออมยิ่งเราสะสมที่เราทำมันบ่อยเท่าไหร่นะเท่าไหร่ครับมันจะกลายเป็นนิสัยมันจะกลายเป็นวินัยที่จะติดตัวเราไปเลยครับ
ดังนั้นนะครับสำหรับคนที่พึ่งเรียนจบมาแล้วเพิ่งเข้าสู่ชีวิตการทำงานนะครับรายได้ยังไม่มากผมมีคำแนะนำนะครับที่สรุปมาให้ทุกข้อๆตามนี้นะครับถ้าอยากจะเริ่มวางแผนเก็บเงิน
1.ตั้งเป้าหมายการออม
2.เก็บออมวันไหน
3.ออมเท่าไรดี
4.บันทึกค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน

จริงๆแล้วอยากบอกทุกคนอย่างนี้นะครับว่าสำหรับผมการเก็บเงินไม่ใช่เรื่องที่มีเทคนิคหรือมีอะไรเป็นพิเศษมากมายนักหรอกครับ
เพียงแต่ว่าการเก็บออมเงินเนี่ยจะต้องอาศัยวินัยจะต้องอาศัยการฝึกฝนและการทำซ้ำที่มากพอครับดังนั้นครับย้ำอีกทีนะมันไม่ได้เกี่ยวเลยนะว่าวันนี้เราจะมีรายได้เยอะหรือรายได้น้อยครับคนรายได้น้อยก็สามารถเริ่มต้นได้นะครับถ้าเริ่มต้นอย่างถูกต้องและก็มีวินัยแต่ทางกลับกันถ้าเกิดคุณมีรายได้มากแต่คุณไม่เคยคิดจะเก็บออมเงินเลยให้รายได้เยอะขนาดไหนครับก็อาจจะไม่มีเงินเลยก็ได้นะ

เก็บเงิน ออมเงิน วางแผนการเงิน การเงิน ลงทุน

วางแผนเก็บเงินยังไง ให้มีเงินเก็บเงินออมทุกๆเดือน

แชร์ 5 วิธีออมเงิน ฉบับนินิวส์เอง | Newssusa


ฝากกดไลค์กดติดตามให้หน่อยน้า❤️
อยากให้ทำคลิปอะไร comment ใต้คลิปได้เลย👇🏻
ช่องทางการติดต่อ
FB : https://www.facebook.com/ninewthichakorn
IG : https://instagram.com/ninewthicha?igshid=10b27vk3lqdwp
IG (ร้านนิวเอง) : https://instagram.com/istoni.phone?igshid=ztylspawmyzn
Toniโทนี่ วิธีเก็บเงิน

แชร์ 5 วิธีออมเงิน ฉบับนินิวส์เอง | Newssusa

ออมเงินด้วย 9 วิธี..สู่เงินล้าน คนเงินเดือนน้อยก็ทําได้


วิธีการออมเงิน เทคนิคการออมเงิน
วันนี้เรามีเทคนิคการออมเงิน คนเงินเดือนน้อยก็สามารถทําได้

ออมเงินด้วย 9 วิธี..สู่เงินล้าน  คนเงินเดือนน้อยก็ทําได้

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่INVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment