EP.26:สิทธิการลาคลอด นายจ้างผิดนัดชำระค่าตอบแทน บังคับทำโอที เปลี่ยนนายจ้างสิทธิต้องคงเดิม | สิทธิ การ ลา คลอด

You are viewing this post: EP.26:สิทธิการลาคลอด นายจ้างผิดนัดชำระค่าตอบแทน บังคับทำโอที เปลี่ยนนายจ้างสิทธิต้องคงเดิม | สิทธิ การ ลา คลอด

EP.26:สิทธิการลาคลอด นายจ้างผิดนัดชำระค่าตอบแทน บังคับทำโอที เปลี่ยนนายจ้างสิทธิต้องคงเดิม


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

EP.26:สิทธิการลาคลอด ถูกเลิกจ้างโดยไม่บอกล่วงหน้า นายจ้างผิดนัดชำระค่าตอบแทน นายจ้างย้ายโรงงาน บังคับทำโอที เปลี่ยนนายจ้างสิทธิของลูกจ้างต้องคงเดิม.
ติดตามเนื้อหาเรื่องกฎหมายใกล้ตัว ใน Ebook เรื่อง กฎหมายสามัญประจำบ้าน ปี พ.ศ. 2562 ได้ทางช่องเรานะครับ ผมจะพยายามทำให้จบเล่ม ให้ครบทุกตอนเลยครับ โดยเนื้อในตอนนี้จะเป็นอย่างไรติดตามชมในคลิปได้เลยครับ.

EP.26:สิทธิการลาคลอด นายจ้างผิดนัดชำระค่าตอบแทน บังคับทำโอที เปลี่ยนนายจ้างสิทธิต้องคงเดิม

“ลาคลอด” สำคัญอย่างไร? “90 วัน” ทำอะไรสำหรับแม่และลูก : พบหมอรามา ช่วง RamaHealthTalk 30 ก.ค.61(4/7)


RamaHealthTalk
“ลาคลอด” สำคัญอย่างไร? “90 วัน” ทำอะไรสำหรับแม่และลูก
ติดตามรายการได้ทุกวันจันทร์ศุกร์ ออกอากาศสดผ่าน Facebook Fanpage เวลา 12.0013.00 น. โดยคุณผู้ชมสามารถรับชมรามาแชนแนลได้ที่ช่อง True Visions 42 หรือ ทางเว็บไซต์ http://www.ramachannel.tv และ http://www.youtube.com/ramachanneltv
ออกอากาศวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2561

“ลาคลอด” สำคัญอย่างไร? “90 วัน” ทำอะไรสำหรับแม่และลูก : พบหมอรามา ช่วง RamaHealthTalk 30 ก.ค.61(4/7)

สิทธิการลาคลอดและทำหมันลูกจ้างหญิง


สิทธิการลาคลอดและทำหมันลูกจ้างหญิง

EP6 #สิทธิลาเพื่อคลอดบุตร และ #การจ่ายค่าจ้างในวันลาคลอดบุตร


มาตรา 41+มาตรา 59 สิทธิลาเพื่อคลอดบุตร+การจ่ายค่าจ้างในวันลาเพื่อคลอดบุตร
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
มาตรา 41 ให้ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์หนึ่งไม่เกินเก้าสิบแปดวัน (98 วัน)
วันลาเพื่อคลอดบุตรตามมาตรานี้ให้หมายความรวมถึงวันลาเพื่อตรวจครรภ์ก่อนคลอดบุตรด้วย
วันลาตามวรรคหนึ่ง ให้นับรวมวันหยุดที่มีในระหว่างวันลาด้วย”
มาตรา 59 ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงในวันลาเพื่อคลอดบุตรตามมาตรา 41 เท่ากับค่าจ้างในวันทำงานตลอดระยะเวลาที่ลา แต่ไม่เกินสี่สิบห้าวัน (45 วัน)
หากคุณชอบวิดีโอนี้ และคิดว่าวิดีโอนี้มีประโยชน์ อย่าลืมกดไลค์
กด Subscribe เพื่อแจ้งเตือนท่านเมื่อมีคลิปใหม่
กดแชร์ ด้วยนะครับ
แล้วพบกันใหม่ในคลิปต่อไปกับทีมงานของเรา
สำหรับวันนี้สวัสดีครับ
Yes we can เราทำได้
แหล่งข้อมูลอ้างอิงประกอบการอธิบายมาจากหนังสือ/เอกสารของ
อาจารย์อรรถพล มนัสไพบูลย์
อาจารย์พงษ์รัตน์ เครือกลิ่น
ศาสตราจารย์เกษมสันต์ วิลาวรรณ
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
เอกสารประกอบการเรียน กฎหมายแรงงาน มหาวิทยาลัยรามคำแหง

EP6 #สิทธิลาเพื่อคลอดบุตร และ #การจ่ายค่าจ้างในวันลาคลอดบุตร

ด่วน!! ประกันสังคมคลอดบุตร 2563 ได้เท่าไหร่ | ประกันสังคมคลอดบุตรสิทธิคุณแม่ต้องรู้ #คุณพ่อมือใหม่


ด่วน!! ประกันสังคมคลอดบุตร 2562 ได้เท่าไหร่ | ประกันสังคมคลอดบุตรสิทธิคุณแม่ต้องรู้ Familymanคุณพ่อมือใหม่
ประกันสังคม คลอดบุตร สิทธิที่คุณแม่ป้ายแดงควรรู้ประกันสังคม คลอดบุตร มีสิทธิประโยชน์อะไรบ้างที่คุณแม่มือใหม่ควรรู้ วันนี้เราจะมาบอกให้เข้าใจ จะได้ไม่พลาดสิทธิประโยชน์ที่คุณแม่ควรจะได้ว่าที่คุณแม่มือใหม่ทราบหรือไม่ว่าคุณแม่มีสิทธิที่จะได้รับเงินค่าจ้างในขณะที่ลาคลอดตลอด 90 วันจากทางประกันสังคม และยังมีสิทธิเบิกค่าคลอดบุตรได้ด้วย ฟังดูแค่นี้ก็น่าสนใจแล้ว งั้นเราไปติดตามสิทธิประกันสังคมอื่น ๆ ที่คุณแม่จะได้รับนอกเหนือไปจากที่กล่าวมา ว่ามีอะไรบ้างที่คุณแม่ควรรู้เพื่อที่จะได้ใช้สิทธิประกันสังคม คลอดบุตร อย่างเต็มที่และเต็มเม็ดเต็มหน่วย ไปดูกันเลย
เริ่มจากจำนวนวันลาคลอดกันก่อนเลย ตามกฎหมายกำหนดสิทธิเกี่ยวกับการลาคลอดเอาไว้ว่า ลูกจ้างทุกประเภทที่เป็นหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาคลอดตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานได้ โดยลูกจ้างหญิงมีครรภ์สามารถลาเพื่อคลอดบุตรได้ครรภ์หนึ่งไม่เกิน 98 วัน โดยนับรวมวันหยุดที่มีระหว่างวันลาด้วย (ผ่านเป็นกฎหมายแล้ว อยู่ระหว่างรอประกาศในราชกิจจานุเบกษา)
ส่วนในเรื่องของค่าจ้างในขณะที่คุณแม่ใช้สิทธิลาคลอดนั้น ตามกฎหมายคุณแม่มีสิทธิที่จะได้รับเงินจาก 2 ช่องทางหลัก ๆ ด้วยกัน คือ
1. นายจ้าง
ในการลาคลอด 1 ครั้ง คุณแม่จะได้สิทธิในการลาคลอดเป็นจำนวน 98 วัน ซึ่งไม่รวมลาฝากครรภ์หรือตรวจครรภ์ แต่ให้นับรวมวันหยุดที่มีระหว่างวันลาด้วย
โดยนายจ้างจะต้องจ่ายเงินให้กับคุณแม่ที่ทำการลาคลอดเป็นจำนวนไม่เกิน 53 วัน แบ่งเป็นการลาใน 45 วันแรกบังคับนายจ้างต้องจ่ายเงินในช่วงที่คลอด ส่วนอีก 8 วันที่เหลือ นายจ้างจะจ่ายค่าจ้างระหว่างลาหรือไม่ก็ได้ แล้วแต่ทั้งสองฝ่ายตกลงกัน ซึ่งการจ่ายเงินทางนายจ้างจะจ่ายระหว่างลาหรือหลังจากมาทำงานขึ้นอยู่กับตกลงกัน ยกตัวอย่างเช่น คุณแม่ได้เงินเดือนอยู่ที่เดือนละ 20,000 บาท ในระหว่างที่คุณแม่ลาคลอด นายจ้างจะต้องจ่ายเงินให้คุณแม่เป็นจำนวนเท่ากับ 45 วัน หรือ 30,000 บาท (คิดจากค่าจ้าง 30 วัน เท่ากับ 20,000 บาท 15 วัน เท่ากับ 10,000 บาท) อย่างไรก็ตาม หากนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้างตามที่กฎหมายกำหนด คุณแม่สามารถไปร้องเรียนได้ที่สำนักงานแรงงานจังหวัด กระทรวงแรงงาน 2. ประกันสังคม
นอกจากนี้คุณแม่ยังมีสิทธิที่จะได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรจากทางประกันสังคม โดยทางประกันสังคมจะเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของเงินเดือนเฉลี่ย 90 วัน (คิดจากฐานเงินเดือนไม่เกิน 15,000 บาท) หรือในกรณีที่คุณแม่ได้เงินเดือนมากกว่า 15,000 บาท ทางสำนักงานประกันสังคมก็จะคิดเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรจากฐานเงินเดือนไม่เกิน 15,000 บาทเช่นกัน
ยกตัวอย่างเช่น คุณแม่มีเงินเดือน 20,000 บาท ก็จะได้เงินสงเคราะห์การหยุดงาน 50% ของเงินเดือน แต่ต้องคิดจากฐานเงินเดือนไม่เกิน 15,000 บาท คือ 15,000 x 3 เดือน (90 วัน) x 0.5 เท่ากับ 22,500 บาท แต่ในกรณีที่ 2 นี้ คุณแม่จะต้องส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนวันรับบริการทางการแพทย์ และจะได้รับเงินสงเคราะห์เฉพาะการคลอดบุตรไม่เกิน 2 คนเท่านั้นนะคะ หากเป็นการคลอดบุตรคนที่ 3 จะไม่ได้รับสิทธิเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตร ในกรณีที่คุณแม่มาทำงานก่อนโดยไม่รอให้ครบ 90 วัน ก็ยังคงได้รับเงินสงเคราะห์บุตรจากประกันสังคมเต็มจำนวน 90 วัน แถมคุณแม่ก็จะได้รับค่าจ้างตามปกติต่างหากในวันที่คุณแม่มาทำงานด้วย กล่าวโดยสรุปคือคุณแม่ผู้ประกันตนมีสิทธิที่จะได้รับทั้งเงินค่าจ้าง 45 วัน และเงินสมทบจากประกันสังคม 90 วัน หรือถ้าคุณแม่คนไหนฟิตร่างกายกลับมาทำงานได้ไวกว่า 90 วันตามสิทธิการลาคลอดแล้ว คุณแม่ยังได้เงินตามวันที่คุณแม่มาทำงานจริงด้วยนะ ได้ยินแบบนี้แล้วดีสุด ๆ ไปเลยใช่หรือเปล่า
ค่าคลอดบุตร คุณแม่รู้หรือไม่ว่า คุณแม่ที่เป็นผู้ประกันตนสามารถเบิกค่าคลอดบุตรจากสำนักงานประกันสังคมในอัตราเหมาจ่าย 13,000 บาทต่อการคลอดบุตรหนึ่งครั้ง โดยที่คุณแม่จะต้องจ่ายเงินสมทบครบ 5 เดือนภายในระยะเวลา 15 เดือน ก่อนเดือนคลอดบุตรเช่นกัน
ขยายความกันสักนิดนึงสำหรับ ข้อความที่บอกว่า \”5 เดือน ภายใน 15 เดือน\” อธิบายอย่างง่าย ๆ ก็คือ การนับย้อนหลังกลับไป 13 เดือน (1 ปี 1 เดือน) คุณแม่ต้องมีเงินสมทบมาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 เดือน (ถ้าสมทบมาน้อยกว่า 5 เดือน คุณแม่ก็หมดสิทธิ์ในการขอค่าคลอดบุตรครั้งนี้ไป)
มีข้อควรรู้เกี่ยวกับค่าคลอดบุตรอยู่เล็กน้อย คือ1. คุณแม่สามารถใช้สิทธิเบิกค่าคลอดบุตรจากประกันสังคมได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง และจำนวนบุตร เท่ากับว่ามีลูกกี่คนก็เบิกได้ทุกคน
2. กรณีคุณพ่อและคุณแม่เป็นผู้ประกันตนทั้งคู่ ให้ใช้สิทธิในการเบิกค่าคลอดบุตรฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเท่านั้น โดยไม่จำกัดจำนวนบุตร/ครั้ง ส่วนหลักฐานและเอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ในการเบิกค่าคลอดบุตรสามารถดูได้จากเว็บไซต์ของ สำนักงานประกันสังคม แต่หากใครมีข้อสงสัยว่า การผ่าคลอดจะสามารถเบิกประกันสังคมได้หรือไม่ แล้วถ้าได้ลูกแฝดจะเบิกได้เท่าไร ลองมาหาคำตอบที่นี่ค่ะ
ค่าตรวจและค่ารับฝากครรภ์ นอกจากค่าคลอดบุตรเหมาจ่ายครั้งละ 13,000 บาทแล้ว ล่าสุดเมื่อเดือนพฤษภาคม 2561

ด่วน!! ประกันสังคมคลอดบุตร 2563 ได้เท่าไหร่ | ประกันสังคมคลอดบุตรสิทธิคุณแม่ต้องรู้ #คุณพ่อมือใหม่

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment