RAMA Square – “ยาช่วยย่อย” กินบ่อย ๆ ช่วยได้จริง ไม่อันตรายใช่หรือมั่ว 01/07/63 l RAMA CHANNEL | ยา combizym

You are viewing this post: RAMA Square – “ยาช่วยย่อย” กินบ่อย ๆ ช่วยได้จริง ไม่อันตรายใช่หรือมั่ว 01/07/63 l RAMA CHANNEL | ยา combizym

RAMA Square – “ยาช่วยย่อย” กินบ่อย ๆ ช่วยได้จริง ไม่อันตรายใช่หรือมั่ว 01/07/63 l RAMA CHANNEL


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Break 2 Better to know
“ยาช่วยย่อย” กินบ่อย ๆ ช่วยได้จริง ไม่อันตรายใช่หรือมั่ว
ยาช่วยย่อย ท้องอืด ท้องเฟ้อ กินแล้วนอน เคลียร์ความเชื่อผิดๆ สาระปันยา เรื่องยารามา เภสัชกรรามา
ติดตามชมรายการ Rama Square ได้ทุกวันจันทร์ ศุกร์ เวลา 11.0012.00 น. ทาง True Visions42 และ YouTube Rama Channel
——————————————————
ติดตามชมรายการต่าง ๆ ของรามาแชนแนลได้ทาง
Facebook: Rama Channel
YouTube: Rama Channel TV
Website: RamaChannel.tv
True Visions 42
True ID Mobile Application

RAMA Square - “ยาช่วยย่อย” กินบ่อย ๆ ช่วยได้จริง ไม่อันตรายใช่หรือมั่ว 01/07/63 l RAMA CHANNEL

“ยากาบาเพนติน” รักษาอาการเส้นประสาท : Rama Square ช่วง สาระปันยา 27 ธ.ค.61(3/3)


Daily expert สาระปันยา
“ยากาบาเพนติน” รักษาอาการเส้นประสาท
ภญ.นัชชา บุญทวี
เภสัชกรงานเภสัชกรรม ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
ติดตามรายการได้ทุกวันจันทร์ศุกร์ ออกอากาศสดผ่าน Facebook Fanpage เวลา 11.0011.45 น. โดยคุณผู้ชมสามารถรับชมรามาแชนแนลได้ที่ช่อง True Visions 42 หรือ ทางเว็บไซต์ http://www.ramachannel.tv และ http://www.youtube.com/ramachanneltv
ออกอากาศวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2561

“ยากาบาเพนติน” รักษาอาการเส้นประสาท : Rama Square ช่วง สาระปันยา 27 ธ.ค.61(3/3)

ลดอาการท้องอืดด้วย “ยาไซเมทิโคน” : Rama Square ช่วง สาระ-ปัน-ยา 27 ก.ย.61(3/3)


DailyExpert “สาระปันยา”
ลดอาการท้องอืดด้วย “ยาไซเมทิโคน”
ภก.ศุภวัฒน์ ตระกูลเตชะ เภสัชกรงานเภสัชกรรมคลินิก ฝ่ายเภสัชกรรม
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ติดตามรายการได้ทุกวันจันทร์ศุกร์ ออกอากาศสดผ่าน Facebook Fanpage เวลา 12.0013.00 น. โดยคุณผู้ชมสามารถรับชมรามาแชนแนลได้ที่ช่อง True Visions 42 หรือ ทางเว็บไซต์ http://www.ramachannel.tv และ http://www.youtube.com/ramachanneltv ออกอากาศวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2561

ลดอาการท้องอืดด้วย “ยาไซเมทิโคน” : Rama Square ช่วง สาระ-ปัน-ยา 27 ก.ย.61(3/3)

กรดไหลย้อนเรื้อรัง 2019 – หมอนัท


http://nosickhandup.com/?p=412
กรดไหลย้อน 3 ระยะแบบปกติ
กรดไหลย้อน ระยะที่ 1 ปัญหาที่กระเพาะอาหาร
อาการ แสบท้อง มีลมมาก
สาเหตุจาก ทานอาหารไม่เป็นเวลา ทานอาหารเผ็ด
แก้ไข
หากแสบท้องทานกล้วยดิบ ก่อนอาหาร 30 นาที
ช่วยย่อยอาหารโดยทาน ขมิ้น พริกไทย หรือยาหอม ก่อนอาหารทุกมื้อ 15 นาที
กรดไหลย้อน ระยะที่ 2 ปัญหาที่ลำไส้
อาการ ลมมาก จุกแน่นท้อง หน้าอก การขับถ่ายไม่ปกติ หิวอาหารไม่เป็นเวลา
สาเหตุจาก อาหารตกค้างในลำไส้จนเกิดแก๊สอยู่ตลอด มีจุลินทรีย์ที่ไม่ดีในลำไส้มาก
แก้ไข
ขมิ้น พริกไทย ยาหอม ก่อนอาหารทุกมื้อ 15 นาที
ทานโปรไบโอติกหลังอาหาร(เช่น เอนไซม์ ไซเดอร์ จุลินทรีย์ผง)
ขับถ่ายลมและอุจจาระในลำไส้ด้วยธรณีสัณฑะฆาต ทานสัปดาห์ละ 2 วัน
กรดไหลย้อน ระยะที่ 3 สารอาหารลดลง
อาการ ร่างกายอ่อนแรง มึนเวียนศีรษะบ่อย หายใจลำบาก จุกแน่นหลังทานอาหาร อาจแสบหน้าอกและลำคอ ผิวพรรณไม่ผ่องใส
สาเหตุจาก ระบบย่อยอาหารและขับถ่ายไม่ดีเป็นเวลานานทำให้สารอาหารน้อยลง เครียดจนร่างกายรัดตึง
แก้ไข
ทานสารอาหารในช่วงเช้าเพื่อผ่อนคลายความเครียด
ทานยาหอมเวลาหายใจลำบาก
ทานสมุนไพรช่วยย่อยอาหาร(ขมิ้น ขิง พริกไทย เบญจกูล) ก่อนอาหารทุกมื้อ 15 นาที
ทานธรณีสัณฑะฆาต ก่อนนอน 7 วัน หลังจากนั้นทานสัปดาห์ละ 2 วัน
นวดเพื่อความผ่อนคลาย และ ช่วยลดความอึดอัด

กรดไหลย้อนเรื้อรัง
อาการ หายใจลำบาก สมองตื้อ อ่อนเพลีย จุกแน่นลำคอและหน้าอก
เกิดอาการเครียดและวิตกกังวลได้ง่าย ถือเป็นโรคกษัย(รัดตึง)
สาเหตุจาก
ร่างกายอยู่ในสภาวะ ต่อสู้หรือหนี(เครียดหรือวิตกกังวลซิมพาเทติก) นานจนเกินไปทำให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้น้อย เกิดอาหารตกค้างกลายเป็นแก๊สดันขึ้นมาที่หน้าอก
ต่อสู้หรือหนี(ซิมพาเทติก) ม่านตาขยาย น้ำตาเพิ่มขึ้น หายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็ว ลดการทำงานระบบย่อยอาหาร เพิ่มน้ำตาลในเลือด อดรีนาลีนหลั่ง
คลายตัว(พาราซิมพาเทติก) ม่านตาหด หายใจช้าลง ชะลอการเต้นหัวใจ กระตุ้นการทำงานของกระเพาะอาหารลำไส้ น้ำดี
การแก้ไข
ปรับเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันให้อยู่ในสภาวะ คลายตัว(พาราซิมพาเทติก) เช่น
1. การทานข้าว ทานอาหารให้เป็นเวลาและหลากหลาย ไม่เลือกอาหารจนเกิดความวิตกกังวล
2. การออกกำลังกาย เพื่อความผ่อนคลาย สมองหลั่งสารแห่งความสุข และเอาพลังงานออกจากกล้ามเนื้อลดความหงุดหงิด
3. ทำให้จิตใจสงบ โดยลดการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เพราะทำให้มีความถี่มาก วางเฉยต่อสิ่งต่างๆ
สวดมนต์ ทำสมาธิมากขึ้นช่วยให้มีสติลดความวิตกกังวล
4. นวด โยคะ ฤาษีดัดตน ช่วยให้สมองหลั่งสารแห่งความสุข ร่างกายผ่อนคลาย
สมุนไพรที่ช่วยคลายระบบประสาท
ใบบัวบก มะตูม พริกไทย ขี้เหล็ก มะกรูด สะระแหน่ คาร์โมมายด์
เจียวกู้หลาน เห็ดหลินจือ โสมเกาหลี Ashwaganda

ปรึกษาการใช้ยา
กับแพทย์แผนไทย
สั่งซื้อสมุนไพรได้ที่
line@ : @cheewaherb
https://lin.ee/9DLJDgz
หรือ
inbox Facebook cheewaherb
https://m.me/cheewaherbthai

บทความสุขภาพ : https://nosickhandup.com
สมุนไพร : https://cheewaherb.com
หมอที่ดีที่สุดคือตัวเราเอง
ช่วยกันทำให้คนป่วยน้อยลง

กรดไหลย้อนเรื้อรัง 2019 - หมอนัท

อย่ามองข้าม การรับประทานยาที่ถูกวิธี


รายการพบหมอศิริราช เรื่อง อย่ามองข้าม การรับประทานยาที่ถูกวิธี โดย รศ.พญ. อุไรวรรณ พานิช ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

อย่ามองข้าม   การรับประทานยาที่ถูกวิธี

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆGENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment