จุดฉีดวัคซีนจามจุรีสแควร์ยึดหลัก3ป.\”บิ๊กตู่\” ยิ้มแย้มให้กำลังใจ | จามจุรีสแควร์

You are viewing this post: จุดฉีดวัคซีนจามจุรีสแควร์ยึดหลัก3ป.\”บิ๊กตู่\” ยิ้มแย้มให้กำลังใจ | จามจุรีสแควร์

จุดฉีดวัคซีนจามจุรีสแควร์ยึดหลัก3ป.\”บิ๊กตู่\” ยิ้มแย้มให้กำลังใจ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

จุดฉีดวัคซีนจามจุรีสแควร์ยึดหลัก3ป.\”บิ๊กตู่\” ยิ้มแย้มให้กำลังใจ
นายกฯ
จุดฉีดวัคซีน
วัคซีนโควิด19
จามจุรีสแควร์
โควิด19
COVID2019
INNNews
ไม่พลาดทุกเรื่องอินเทรนด์

อย่าลืม! กดถูกใจ กดติดตาม กดติดดาว เพจด้วยนะ จะได้ไม่พลาดโพสต์ของสำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น.
………………………………………….
ติดตามข่าวได้ที่ www.innnews.co.th และรับชมข่าวด่วนสดทันทีที่มีข่าวทุกต้นชั่วโมง จาก สำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น. ได้ทาง Youtube : INNNEWS

จุดฉีดวัคซีนจามจุรีสแควร์ยึดหลัก3ป.\

Within You’ll Remain – Tokyo Square – Lyrics/แปลไทย


For educational purposes only. Do not use commercial.
Artist: Tokyo Square,
appears on Class Acts in 1985.
Song originally performed by Hong Kong band \”Chyna\”

Within You'll Remain - Tokyo Square - Lyrics/แปลไทย

เดินทางจากBTSสีลม (สถานีศาลาแดง) ไปจามจุรีสแควร์อย่างไร?


วิธีเดินทางจากBTSสีลม (สถานีศาลาแดง) ไปตึกจามจุรีย์สแควร์มีหลายวิธีด้วยกัน

เดินทางจากBTSสีลม (สถานีศาลาแดง) ไปจามจุรีสแควร์อย่างไร?

EP148 Bangkok Thailand l [กินร้านเพื่อน] Juzu Cafe จามจุรีสแควร์ ราคาย่อมเยา l Eat Around With Bryan


\”กินร้านเพื่อน\”
แนะนำร้านอาหารของเพื่อนและกัลยาณมิตรทั้งหลาย
ที่คัดสรรแล้วว่าผ่าน มารีวิวแบบตรงไปตรงมา
กินร้านเพื่อน EP นี้ ขอแนะนำ Juzu Cafe จามจุรีสแควร์
ร้านกาแฟเล็กๆ น่ารัก ที่ราคาย่อมเยาในทำเลใจกลางเมืองเดินทางสะดวก
มือใหม่หัดทำเอง (เกือบ) ทุกอย่าง
ขอกำลังใจจากทุกคนด้วยครับ
เชิญชวนมาสับตะไคร้ (Subscribe) Youtube Channel
และลูบไล้ (Like) Facebook Fanpage:
Eat Around With Bryan
https://www.facebook.com/eataroundwithbryan
Email
[email protected]
ขอบคุณครับ
eataroundwithbryan กินร้านเพื่อน bangkok thailand juzu juzucafe coffeeshop cafehoppingbkk
Music:
Joakim Karud Road Trip
http://youtube.com/joakimkarud

EP148 Bangkok Thailand l [กินร้านเพื่อน] Juzu Cafe จามจุรีสแควร์ ราคาย่อมเยา l Eat Around With Bryan

ทุ่ม 6,000 ล้าน สร้างห้างกลางสยามสแควร์ สนุกแน่งานนี้.!


บนที่ดินเดิมของโรงหนังสกาล่า และตึกแถวรอบๆ เนื้อที่ 7 ไร่ กำลังจะมีการเปลี่ยนแปลงภายใต้เงื้อมมือของกลุ่ม ซีพีเอ็น ที่ได้รับคัดเลือกจากจุฬาฯให้เป็นผู้ชนะการประมูลในการเข้ามาพัฒนาพื้นที่ block A
มี 4 ประเด็นน่าจับตามอง
1. นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ “กลุ่มเซ็นทรัล” บุกย่านสยามสแควร์ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าในย่านนี้ มี Developer รายหลักอยู่แล้วอย่าง “กลุ่มสยามพิวรรธน์” และ “กลุ่มเอ็ม บี เค” ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสยามพิวรรธน์
2. หากสำรวจแผนผังที่ตั้งพื้นที่ Block A เขตพาณิชย์สยามสแควร์ ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกปทุมวัน จุดตัดระหว่างถนนพญาไท กับถนนพระรามที่ 1 โดยสภาพปัจจุบันคือ โรงภาพยนตร์สกาลา และอาคารพาณิชย์ สูง 3 – 4 ชั้น จำนวน 79 คูหา ส่วนใหญ่ประกอบกิจการหลากหลาย เช่น คลินิก ร้านอาหาร ร้านขายสินค้าแฟชั่น เครื่องสำอาง ธนาคาร และโรงเรียนกวดวิชา
ในเอกสารฉบับร่างเพื่อรับฟังความคิดเห็น ครั้งที่ 1 ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์การเข้าร่วมยื่นข้อเสนอโครงการให้เอกชนดำเนินโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณ Block A เขตพาณิชย์สยามสแควร์ ระบุว่า เนื้อที่โครงการทั้งหมดประมาณ 7 ไร่ 31 ตารางวา “สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” (PMCU) อนุญาตให้ก่อสร้างโครงการภายในกรอบพื้นที่ประมาณ 5 ไร่ 3 งาน 89 ตารางวา โดยต้องเว้นระยะร่นบนพื้นที่ถนนสยามสแควร์ซอย 7 จำนวน 6 เมตร และสยามสแควร์ซอย 1 จำนวน 9 เมตร เป็นอย่างน้อยตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง และการดำเนินการ
นั่นเท่ากับว่า “เซ็นทรัลพัฒนา” จะสามารถก่อสร้าง “ตัวอาคาร” ได้ประมาณ 5 ไร่ 3 งาน 89 ตารางวา หรือราว 9,556 ตารางเมตรเท่านั้น
นอกจากนี้ผู้ได้รับสิทธิ ต้องดำเนินการออกแบบและก่อสร้างทางเชื่อมกับอาคาร “Siamscape” ที่ระดับชั้น 2 ด้วยค่าใช้จ่ายของผู้ได้รับสิทธิเองทั้งหมด ตามรูปแบบ แนวเส้นทาง แบบรายละเอียดการก่อสร้าง ตลอดจนเทคนิคและวิธีการก่อสร้างที่สำนักงานฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อเห็นชอบ
รวมทั้งผู้ได้รับสิทธิต้องดำเนินการออกแบบโครงสร้างทางเชื่อม เพื่อรองรับการเชื่อมต่อไปยังอาคาร Block B ด้วยค่าใช้จ่ายของผู้ได้รับสิทธิเองทั้งหมด ทั้งนี้แนวเส้นทาง ตำแหน่งของทางเชื่อม และรายละเอียดอื่นๆ จะตกลงร่วมกันต่อไป
ตลอดระยะเวลาของสัญญา ผู้ได้รับสิทธิต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการเปิดให้บริการทางเชื่อมดังกล่าวด้วยตนเอง ซึ่งรวมถึงค่าสาธารณูปโภค ค่ารักษาความสะอาด ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการเปิดให้บริการ หรือการประกอบกิจการของผู้ได้รับสิทธิ
3. ในเอกสารฉบับร่างเพื่อรับฟังความคิดเห็น ครั้งที่ 1 ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์การเข้าร่วมยื่นข้อเสนอโครงการให้เอกชนดำเนินโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณ Block A เขตพาณิชย์สยามสแควร์ ยังระบุถึงแนวคิดการพัฒนาพื้นที่ว่า สร้างพื้นที่เป็น Landmark ในเชิงสถาปัตยกรรมและแนวคิดการออกแบบที่กลมกลืน สอดคล้องกับพื้นที่แนวราบ และอัตลักษณ์ของสยามสแควร์ ตามแนวคิดการเป็น Street Shopping ส่งเสริมและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับโครงการและพื้นที่โดยรอบ
4. ค่าตอบแทนที่ “เซ็นทรัลพัฒนา” ต้องจ่ายให้กับ “สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” ในร่างเพื่อรับฟังความคิดเห็น ครั้งที่ 1 ฉบับเดียวกันนี้ ระบุเอาดังนี้
ค่าตอบแทนการทำสัญญา (Upfront) ผู้ได้รับสิทธิต้องชำระค่าตอบแทนการทำสัญญา เพื่อเป็นค่าตอบแทนการได้รับสิทธิให้กับสำนักงานฯ เป็นจำนวนเงินตามที่เสนอไว้ในข้อเสนอด้านผลประโยชน์ตอบแทน ทั้งนี้ จำนวนเงินดังกล่าวต้องไม่ต่ำกว่า 742,000,000 บาท
ค่าตอบแทนรายปี จำนวน 30 งวด โดยเริ่มชำระให้กับสำนักงานฯ นับแต่วันที่ครบกำหนดระยะเวลาการออกแบบ การยื่นขออนุญาต และก่อสร้าง โดยต้องชำระภายในวันที่ 20 ในเดือนแรกในแต่ละปีการได้รับสิทธิ ทั้งนี้จำนวนเงินในแต่ละปีที่เสนอต้องไม่ต่ำกว่าจำนวนเงินที่กำหนดดังต่อไปนี้
• ปีที่ 1 – 3 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 108,000,000 บาทต่อปี
• ปีที่ 4 – 6 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 119,000,000 บาทต่อปี
• ปีที่ 7 – 9 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 131,000,000 บาทต่อปี
• ปีที่ 10 – 12 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 144,000,000 บาทต่อปี
• ปีที่ 13 – 15 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 158,000,000 บาทต่อปี
• ปีที่ 16 – 18 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 174,000,000 บาทต่อปี
• ปีที่ 19 – 21 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 191,000,000 บาทต่อปี
• ปีที่ 22 – 24 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 210,000,000 บาทต่อปี
• ปีที่ 25 – 27 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 231,000,000 บาทต่อปี
• ปีที่ 28 – 30 จํานวนเงินในแต่ละปีต้องไม่ต่ำกว่า 254,000,000 บาทต่อปี
ดังนั้น จากค่าตอบแทนตามที่กำหนดไว้ดังกล่าว หากไม่มีการเปลี่ยนแปลง เท่ากับว่า “เซ็นทรัลพัฒนา” ต้องจ่ายให้กับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ รวมแล้วไม่ต่ำกว่า 5,902 ล้านบาท (ค่าตอบแทนการทำสัญญา (Upfront) 742 ล้านบาท + ค่าตอบแทนรายปี เป็นระยะเวลา 30 ปี 5,160 ล้านบาท)
ทำไม “เซ็นทรัลพัฒนา” กล้าจ่ายเกือบ 6,000 ล้าน เพื่อเช่าที่ดินเพียง 7 ไร่
จาก 4 ประเด็นข้างต้น จะเห็นได้ว่าการที่ “เซ็นทรัลพัฒนา” คว้าสิทธิเป็นผู้เช่าที่ดิน Block A ซึ่งมีขนาดพื้นที่เพียง 7 ไร่ โดยในจำนวนพื้นที่ทั้งหมดนี้ สามารถก่อสร้างตัวอาคารได้ 5 ไร่ 3 งาน 89 ตารางวา หรือราว 9,556 ตารางเมตรเท่านั้น! ถือว่าเป็นโปรเจคที่มีขนาดพื้นที่เล็กมากกก เมื่อเทียบกับการพัฒนาโครงการของเซ็นทรัลพัฒนาในยุคใหม่ ที่ศูนย์การค้าแต่ละโครงการที่เซ็นทรัลพัฒนาสร้างขึ้นนั้น มีขนาดพื้นที่หลายหมื่น หลายแสนตารางเมตร
แต่ทำไม “เซ็นทรัลพัฒนา” ถึงจ่ายให้กับสำนักงานทรัพย์สินจุฬา สูงเฉียด 6,000 ล้านบาทในช่วงระยะเวลา 30 ปี
นั่นแสดงว่าเซ็นทรัลต้องมีทีเด็ดแน่นอน ไม่เช่นนั้นคงไม่กล้าลงทุนมหาศาลบนที่ดินแปลงเล็กขนาดนี้
ขอบคุณข้อมูลจาก BrandBuffet

ทุ่ม 6,000 ล้าน สร้างห้างกลางสยามสแควร์ สนุกแน่งานนี้.!

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment