นางลาวัณย์ อุปอินทร์ บ้านศิลปินแห่งชาติ แหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปะ | ประวัติ ศิลปิน แห่ง ชาติ

You are viewing this post: นางลาวัณย์ อุปอินทร์ บ้านศิลปินแห่งชาติ แหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปะ | ประวัติ ศิลปิน แห่ง ชาติ

นางลาวัณย์ อุปอินทร์ บ้านศิลปินแห่งชาติ แหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปะ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

นางลาวัณย์ อุปอินทร์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์(จิตรกรรม) พุทธศักราช 2559

นางลาวัณย์ อุปอินทร์ บ้านศิลปินแห่งชาติ แหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปะ

อ.ถวัลย์วาดรูปควายไบซัน


อ.ถวัลย์ ดัชนี สาธิตการเขียนรูปให้กับนักศึกษาจากมหาลัยทั่วทั้งประเทศที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการดาวเด่นบัวหลวง 101 ประจำปี 2554 ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (ขออภัยในคุณภาพการถ่ายทำเนื่องจากเป็นวีดีโอที่ถ่ายทำไว้นานมากแล้ว) นำมาเผยแพร่เพื่อส่งต่อความรู้ต่อไป

อ.ถวัลย์วาดรูปควายไบซัน

ประวัติศิลปินแห่งชาติ


นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/6
โรงเรียนชลกันยานุกูล
ปีการศึกษา2563
ประวัติศิลปินแห่งชาติ
ท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ เป็นพระนามทีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท ได้ประทานให้ เกิดเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2457 ทั้งนี้เนื่องจากอยู่ในครอบครัวของนักดนตรีจึงชอบดนตรี และเล่นเปียโนมาตั้งแต่เด็ก สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีด้านเปียโนจากวิทยาลัยดนตรีทรีนิตี ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ
หม่อมหลวงพวงร้อยมีผลงานประพันธ์ทำนองและคำร้องเพลงมากมาย จำนวน 124 เพลง รวมทั้งบทเพลงปลุกใจ เพื่อถวายสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ผลงานตัวอย่าง
• วันเพ็ญ พ.ศ. 2481 ภาพยนตร์เรื่อง “วันเพ็ญ”
• ดอกไม้ พ.ศ. 2481 ภาพยนตร์เรื่อง “วันเพ็ญ”

สง่า อารัมภีร หรือ ครูแจ๋ว เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2464 ที่กรุงเทพฯ เรียนดนตรีที่กองดุริยางค์กองทัพอากาศจบแล้วจึงรับราชการเป็นนักดนตรีและนักแต่งเพลงของกองดุริยางค์กองทัพอากาศเเละได้ผลิตผลงานเพลงประกอบละครเวที ภาพยนตร์และโทรทัศน์
เริ่มมีชื่อเสียงเมื่อแต่งเพลง \”น้ำตาแสงไต้\” ประกอบละครเรื่องพันท้ายนรสิงห์ เป็นนักเขียนและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง เพลงไทยสากล เมื่อ พ.ศ. 2531 เป็นนักแต่งเพลงซึ่งแต่งทำนองเพลงอมตะหลายเพลง เพลงที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ \”น้ำตาแสงไต้\” และ \”เรือนแพ\”
สวลี ผกาพันธุ์ มีชื่อจริงว่า เชอร์รี่ เศวตนันทน์ เกิดวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2474 ที่กรุงเทพมหานคร มีชื่อจริงแต่แรกเกิดว่า เชอร์รี่ ฮอฟแมนน์ เป็นลูกครึ่งที่เกิดแต่บิดาชาวเดนมาร์กกับมารดาชาวไทย เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับมัธยม จากนั้นได้เรียนต่อเพิ่มเติมทางด้านชวเลข และพิมพ์ดีด
เป็นนักร้องเพลงลูกกรุง และนักแสดงชาวไทยเเละได้รับการยกย่องเป็นปูชนียบุคคลของวงการเพลงลูกกรุง เป็นนักร้องสตรีรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทานมากที่สุดถึง 3 ครั้ง และรับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง เพลงไทยสากลขับร้อง
บท พจมาน พินิตนันทน์ คนแรกในนวนิยาย บ้านทรายทอง คู่กับ ฉลอง สิมะเสถียร ทั้งฉบับละครเวที คณะอัศวินการละคร ที่ ศาลาเฉลิมไทย และฉบับละครโทรทัศน์ คณะกัญชลิกา ทางไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม และเป็นคนแรกผู้ขับร้องเพลงเอกนำเรื่องชื่อเดียวกันด้วย
บัวผัน จันทร์ศรีศิลปินเพลงพื้นบ้านบัวผัน จันทร์ศรี เกิดเมื่อปีจอ พ.ศ. 2463 ที่อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง มีพี่น้องรวม6คนเริ่มหัดเพลงมาตั้งแต่เด็ก ๆ จากการติดตามดูพี่ชายเล่นเพลงที่ต่าง ๆ ต่อมาได้ฝึกหัดเพลงจากบิดามารดาและอา จน มีความสามารถในการประชันเพลงกับพ่อเพลงรุ่นใหญ่ ตั้งแต่อายุราว 15 ปีบัวผัน จันทร์ศรี มีลูกศิษย์มากมายจึงได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ (สาขาเพลงพื้นบ้านภาคกลาง) ประจำปี พ.ศ. 2533
ประยูร ยมเยี่ยม เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดนนทบุรี เป็นศิลปินเพลงพื้นบ้านที่มีความเชี่ยวชาญเพลงลำตัด ในนาม \”ลำตัดแม่ประยูร\” ป็นศิลปินเพลงพื้นบ้านที่มีความเชี่ยวชาญเพลงลำตัด ในนาม \”ลำตัดแม่ประยูร\” เข้าสู่อาชีพแสดงลำตัดเมื่ออายุได้ 13 ปี เพราะคุณตาของประยูรมองเห็นแววจึงสนับสนุน และเริ่มออกแสดงลำตัดเป็นครั้งแรกขณะมีอายุ 15 ปี
จากนั้นได้เข้าร่วมกับคณะแม่จำรูญ ซึ่งเป็นคณะลำตัดที่มีชื่อเสียงมากในสมัยนั้น จนได้พบกับ “หวังเต๊ะ” จึงได้ร่วมประชันลำตัดกันบ่อยๆ และกลายเป็นคู่ประชันลำตัดยอดนิยมมายาวนาน จนได้แต่งงานและมีบุตร แล้วหย่าขาดจากกัน แต่ก็ยังคงแสดงร่วมกันตลอดมา เเม่ประยูรยังเป็นผู้ริเริ่มนำการแสดงลำตัดมาจัดทำเป็นเทปคาสเซ็ท และวิดีโอเทป ออกจำหน่าย เคยออกเทปเพลงแปลง
สามารถนำการแสดงลำตัดไปเผยแพร่ในต่างประเทศ เพื่อสื่อความหมายให้ผู้ฟังได้รับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์ด้วยรูปแบบความบันเทิงอย่างสนุกสนาน โดยมีความมุ่งมั่นที่จะเผยแพร่และรักษาเพลงพื้นบ้านของไทยเอาไว้ เพื่อถ่ายทอดศาสตร์และศิลป์ให้แก่รุ่นหลานรวมทั้งนิสิตนักศึกษา จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้านลำตัด) ประจำปี พ.ศ. 2537

ประวัติศิลปินแห่งชาติ

วีดิทัศน์ประวัติและผลงานของศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๑


วีดิทัศน์ประวัติและผลงานของศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๑

การแสดงผลงานเพลง อ.ประยงค์ ชื่นเย็น ศิลปินแห่งชาติ 2552


งานเชิดชูเกียรติศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และเป็นการแสดงผลงานเพลงของอ.ประยงค์ ชื่นเย็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ดนตรีไทยลูกทุ่งผู้เรียบเรียงเสียงประสาน ที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อวันพุธที่ 24 ก.พ. 2553 จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม

การแสดงผลงานเพลง อ.ประยงค์ ชื่นเย็น ศิลปินแห่งชาติ 2552

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆINVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment