ไม่มีประโยชน์: บ่าววี Rsiam [Official Lyric Audio] | ประโยชย์

You are viewing this post: ไม่มีประโยชน์: บ่าววี Rsiam [Official Lyric Audio] | ประโยชย์

ไม่มีประโยชน์: บ่าววี Rsiam [Official Lyric Audio]


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

บ่าววี อาร์สยาม ตัวแทนของผู้ชายเสียสละ โดยเฉพาะเรื่องความรัก เพลงนี้ก็เช่นกัน เมื่อคนที่เรารัก ไปมีรักใหม่กับคนที่ดีกว่าเราแม้จะรักแต่ก็ต้องยอมรับความจริง และไม่ต้องมาขอโทษ หรือแสดงความเสียใจ เพราะมันไม่มีประโยชน์ ในเมื่อเธอตัดสินใจไปแล้ว เป็นอีกหนึ่งเพลงฮิต อารมณ์แมนๆ แบบลูกผู้ชายตัวจริง สไตล์บ่าววี อาร์สยาม
ไม่มีประโยชน์
คำร้อง / ทำนอง / เรียบเรียง : หนู มิเตอร์
โฮ โฮ โฮ โฮ โฮ…………
แค่มาเห็นไม่ได้มาหา แค่ผ่านมาไม่ได้ตั้งใจ
รู้ดีแล้วว่าอยู่ส่วนไหน อยู่ห่างไกลหัวใจของเธอ
รักก็รักเธอหนักหนา
รู้ตัวรู้อยู่เสมอ ขอบใจเธอที่ยังมาทักกัน
แม้เรื่องราวในวันเก่า ยังตามเป็นเงาไม่เคยจางหาย
ไม่ต้องสงสาร ไม่ต้องขอโทษ
ไม่ต้องกลัวฉันจะโกรธ ฉันไม่โทษใคร
เธอได้ตัดสิน เธอตัดสินใจ
ไม่ต้องร้องไห้ ไม่มีประโยชน์
พี่บ่าวคงไม่คู่ควร ให้เธอนั้นเสียน้ำตา
ถึงใจมันต้องอ่อนล้า ไม่เคยมาขอร้องให้เห็นใจ
(ซ้ำ / / )
โตมากับอาร์เอส ขอคืน ไม่มีประโยชน์ บ่าววีRsiam อาร์สยาม

ไม่มีประโยชน์: บ่าววี Rsiam [Official Lyric Audio]

คนสู้โรค : ประโยชน์ดี ๆ ของกระเจี๊ยบเขียว (8 ส.ค 59)


มารู้จักประโยชน์ดี ๆ ของกระเจี๊ยบเขียว ทำให้ผิวพรรณสดใส ช่วยบำรุงสมอง มีโฟเลตสูงเหมาะสำหรับหญิงมีครรภ์ ส่วนยางที่อยู่ในกระเจี๊ยบเขียว ช่วยรักษาแผลในลำไส้ แผลในหลอดอาหาร โรคกระเพาะ ต้านมะเร็งลำไส้
ติดตามชมรายการคนสู้โรค วันจันทร์ ศุกร์ เวลา 11.15 – 11.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง http://www.thaipbs.or.th/live

ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : http://gplus.to/ThaiPBS
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS

คนสู้โรค : ประโยชน์ดี ๆ ของกระเจี๊ยบเขียว  (8 ส.ค 59)

เป็นต่อ ตอนที่ 201 เพื่อนกัน ทำกันลง


เป็นต่อ ตอนที่ 201 เพื่อนกัน ทำกันลง

ไม่มีประโยชน์ – บ่าววี อาร์สยาม


ไม่มีประโยชน์ - บ่าววี อาร์สยาม

ส้มตำ คุณประโยชน์เมนูยอดฮิต by หมอแอมป์ [Dr. Amp Guide👨‍⚕️ \u0026 Dr.Amp Podcast]


ส้มตำ อาหารพื้นบ้านที่อยู่คู่กับคนไทยมานานแสนนาน รู้หรือไม่ว่าจริงๆ แล้วส้มตำมีคุณค่าทางอาหารที่ดีต่อสุขภาพเรามากมาย แต่ในขณะเดียวกัน การทานส้มตำนั้น ก็อาจมีโทษต่อร่างกาย เนื่องจากเป็นอาหารที่มีโซเดียมสูง ส้มตำแต่ละจานให้พลังงานเท่าไหร่ แล้วเราจะสามารถทานส้มตำเพื่อให้ดีต่อสุขภาพได้อย่างไร หรือสามารถปรับสูตรของส้มตำให้เป็นอาหารเฮลท์ตี้ได้อย่างไร มาติดตามได้ในรายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
ตอน \”ส้มตำ คุณประโยชน์เมนูยอดฮิต\” โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ รักษาการประธานคณะผู้บริหาร บีดีเอ็มเอส เวลเนส คลินิก และนายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
2:06 รู้จักกับประโยชน์ของวัตถุดิบต่างๆ ในส้มตำ
23:39 วัดความเผ็ดของพริกอย่างไร | พริกที่เผ็ดที่สุดในโลก
30:21 เกี่ยวกับโซเดียม
36:32 ส้มตำแต่ละแบบให้พลังงานกี่กิโลแคลอรี่
🌐 http://www.dramp.com​
➡️ Instagram: DrAmp Team
➡️ Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

แหล่งอ้างอิง
1. ธงชัย ลิขิตพรสวรรค์. (2555). สืบที่มา “ส้มตำ” เข้ากรุงเทพฯ เมื่อไหร่คนกรุงสมัยก่อนกินส้มตำที่ไหน. ศิลปวัฒนธรรม. เข้าถึงได้จาก https://www.silpamag.com/culture/article_5140
2. Konno K, Hirayama C, Nakamura M, Tateishi K, Tamura Y, Hattori M, Kohno K. Papain protects papaya trees from herbivorous insects: role of cysteine proteases in latex. The Plant Journal. 2004 Feb;37(3):3708.
3. Adebiyi A, Adaikan PG, Prasad RN. Papaya (Carica papaya) consumption is unsafe in pregnancy: fact or fable? Scientific evaluation of a common belief in some parts of Asia using a rat model. British Journal of Nutrition. 2002 Aug;88(2):199203.
4. Schweiggert RM, Kopec RE, VillalobosGutierrez MG, Högel J, Quesada S, Esquivel P, Schwartz SJ, Carle R. Carotenoids are more bioavailable from papaya than from tomato and carrot in humans: a randomised crossover study. British Journal of Nutrition. 2014 Feb;111(3):4908.
5. Rahman K. Studies on free radicals, antioxidants, and cofactors. Clinical interventions in aging. 2007 Jun;2(2):219.
6. Prus E, Fibach E. The antioxidant effect of fermented papaya preparation involves iron chelation. Journal of biological regulators and homeostatic agents. 2012 Apr 1;26(2):203.
7. GómezGarcía MD, OchoaAlejo N. Biochemistry and molecular biology of carotenoid biosynthesis in chili peppers (Capsicum spp.). International Journal of Molecular Sciences. 2013 Sep;14(9):1902553.
8. Rodríguez‐Burruezo A, González‐Mas MD, Nuez F. Carotenoid composition and vitamin A value in ají (Capsicum baccatum L.) and rocoto (C. pubescens R. \u0026 P.), 2 pepper species from the Andean region. Journal of food science. 2010 Oct;75(8):S44653.
9. Whelton PK, He J. Health effects of sodium and potassium in humans. Current opinion in lipidology. 2014 Feb 1;25(1):759.
10. Srinivasan M, Sudheer AR, Menon VP. Ferulic acid: therapeutic potential through its antioxidant property. Journal of clinical biochemistry and nutrition. 2007;40(2):92100.
11. Yoneshiro T, Aita S, Kawai Y, Iwanaga T, Saito M. Nonpungent capsaicin analogs (capsinoids) increase energy expenditure through the activation of brown adipose tissue in humans. The American journal of clinical nutrition. 2012 Apr 1;95(4):84550.
12. Materska M, Piacente S, Stochmal A, Pizza C, Oleszek W, Perucka I. Isolation and structure elucidation of flavonoid and phenolic acid glycosides from pericarp of hot pepper fruit Capsicum annuum L. Phytochemistry. 2003 Aug 1;63(8):8938.
13. AbdelAal ES, Akhtar H, Zaheer K, Ali R. Dietary sources of lutein and zeaxanthin carotenoids and their role in eye health. Nutrients. 2013 Apr;5(4):116985.
14. Deli J, Molnár P, Matus Z, Tóth G. Carotenoid composition in the fruits of red paprika (Capsicum annuum var. lycopersiciforme rubrum) during ripening; biosynthesis of carotenoids in red paprika. Journal of agricultural and food chemistry. 2001 Mar 19;49(3):151723.
15. Bortolotti M, Coccia G, Grossi G. Red pepper and functional dyspepsia. New England Journal of Medicine. 2002 Mar 21;346(12):9478.
16. Ludy MJ, Mattes RD. The effects of hedonically acceptable red pepper doses on thermogenesis and appetite. Physiology \u0026 behavior. 2011 Mar 1;102(34):2518.
17. WesterterpPlantenga MS, Smeets A, Lejeune MP. Sensory and gastrointestinal satiety effects of capsaicin on food intake. International journal of obesity. 2005 Jun;29(6):6828.
18. Smeets AJ, WesterterpPlantenga MS. The acute effects of a lunch containing capsaicin on energy and substrate utilisation, hormones, and satiety. European journal of nutrition. 2009 Jun;48(4):22934.
19. Jonnala RS, Dunford NT, Chenault K. Nutritional composition of genetically modified peanut varieties. Journal of food science. 2005 May;70(4):S2546.
20. McKevith B. Nutritional aspects of oilseeds. Nutrition Bulletin. 2005 Mar;30(1):1326.

ส้มตำ คุณประโยชน์เมนูยอดฮิต by หมอแอมป์ [Dr. Amp Guide👨‍⚕️ \u0026 Dr.Amp Podcast]

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่INVESTMENT

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: INVESTMENT

Leave a Comment