รู้เรื่องสุขภาพ : วิธีอ่านค่าความดันด้วยตัวเอง ฉบับเข้าใจง่าย – บ้านหมอไทย | เครื่อง วัด สัญญาณ ชีพ

You are viewing this post: รู้เรื่องสุขภาพ : วิธีอ่านค่าความดันด้วยตัวเอง ฉบับเข้าใจง่าย – บ้านหมอไทย | เครื่อง วัด สัญญาณ ชีพ

รู้เรื่องสุขภาพ : วิธีอ่านค่าความดันด้วยตัวเอง ฉบับเข้าใจง่าย – บ้านหมอไทย


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

หากกำลังสงสัยว่าจะทราบได้อย่างไรถ้าเราหรือคนใกล้ชิดเป็นโรคความดันโลหิตสูง ในคลิปนี้จะสอนวิธีการอ่านค่าจากเครื่องวัดความดันโลหิตให้เข้าใจได้อย่างง่าย ไม่ว่าจะวัดที่โรงพยาบาลหรือวัดความดันเองที่บ้านก็สามารถอ่านค่าได้อย่างถูกต้อง และทราบได้ทันทีว่ากำลังเข้าข่ายของโรคความดันโลหิตสูงหรือต่ำอยู่หรือไม่
หากมีข้อสงสัย สามารถส่งมาสอบถามได้ที่ : https://www.facebook.com/morchitdotcom/
หรือแอดไลน์ : https://line.me/R/ti/p/%40chitchaikrunai

รู้เรื่องสุขภาพ : วิธีอ่านค่าความดันด้วยตัวเอง ฉบับเข้าใจง่าย - บ้านหมอไทย

การวัดและการบันทึกสัญญาณชีพ


การวัดและการบันทึกสัญญาณชีพ TMPN 021 เทคนิคการช่วยเหลือดูแลบุคคลขั้นพื้นฐาน โดยโรงเรียนผู้ช่วยพยาบาล คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

การวัดและการบันทึกสัญญาณชีพ

7 5 สัญญาณชีพ x264


7 5 สัญญาณชีพ x264

การประเมินสัญญาณชีพในเด็ก / Record Vital Signs


วัดชีพจร อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ อุณหภูมิ ความดัน และ ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน

การประเมินสัญญาณชีพในเด็ก / Record Vital Signs

◣มสธ.◢ 52311×52404 M02 การตรวจวัดสัญญาณชีพ ตอนที่ 1/3 ทำไม ? ต้องวัดสัญญาณชีพ


เรื่อง การตรวจวัดสัญญาณชีพ จะกล่าวถึงสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้ 1) ทำไม ? ต้องวัดสัญญาณชีพ 2) การวัดอุณหภูมิ และความดันโลหิต และ 3) การตรวจวัดชีพจร และการหายใจ ซึ่งในรายละเอียดจะทำให้เราทราบถึง การตรวจวัดสัญญาณชีพ (Vital Signs) อุปกรณ์ในการตรวจวัดสัญญาณชีพ การวัดอุณหภูมิ วิธีการทำความสะอาดปรอท การวัดความดันโลหิต ขั้นตอนการวัดความดันโลหิต ตำแหน่งการตรวจวัดชีพจร และวิธีการวัดการหายใจ
รายการการปฐมพยาบาลกับการบำบัดโรคเบื้องต้นนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนออนไลน์ ชุดวิชา 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบัดโรคเบื้องต้น (ในหลักสูตรเดิม : ภาคปฏิบัติ) และชุดวิชา 52404 การตรวจประเมิน การบำบัดโรคเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (ในหลักสูตรใหม่ : ภาคทฤษฎี) ซึ่งเป็นชุดวิชาในหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
อาจารย์ผู้สอน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรวรรณ น้อยวัฒน์ และ อาจารย์จิระวดี ศิริกุลพิพัฒน์
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ผลิตรายการโดย
สำนักเทคโนโลยีการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.)
Sukhothai Thammathirat Open University (STOU)
­
ติดตามรายการดี ๆ ของทาง ◣มสธ.◢ ได้ที่
➊ Website ▸ media.stou.ac.th หรือ www.stou.ac.th
➋ Facebook และ YouTube ▸ STOU CHANNEL
­
▸ STOU CHANNEL [ Educational Channel for All ]­

◣มสธ.◢ 52311x52404 M02 การตรวจวัดสัญญาณชีพ ตอนที่ 1/3 ทำไม ? ต้องวัดสัญญาณชีพ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment