25 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 29 มีนาคม 2560 | วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ

You are viewing this post: 25 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 29 มีนาคม 2560 | วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ

25 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 29 มีนาคม 2560


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กล่าวต้อนรับแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน และศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน นายกสภามหาวิทยาลัย กล่าวเปิด เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ครบปีที่ 25 และได้รับเกียรติปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “การศึกษาไทยสู่ระดับสากล” โดย ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียนและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ โดยมีแขกผู้มีเกียรติในจังหวัดนครศรีธรรมราช อำเภอท่าศาลาและพื้นที่ใกล้เคียง คณาจารย์ บุคลกร และนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เข้าร่วมกิจกรรมเนื่องในโอกาสวันสถาปนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ครบปีที่ 25 ในครั้งนี้เป็นจำนวนมาก
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ กล่าวว่า 25 ปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้สร้างความสำเร็จหลายประการตามวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย เป็นองค์การธรรมรัฐ เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่สากล และยืนยันว่าในอนาคตจะดำเนินการให้บรรลุตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่วางไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะเปิดการเรียนการสอนใน 2 สำนักวิชา ซึ่งอยู่ในกลุ่ม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากและเป็นจุดแข็งที่สุดของเรา ซึ่งตอนนี้มีสำนักวิชาแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ สหเวชศาสตร์และสำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์และต่อไปจะมีสำนักวิชาทันตแพทยศาสตร์ และสำนักวิชาสัตวแพทยศาสตร์ สิ่งที่ประกันความสำเร็จของสำนักวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพเหล่านี้ จะเห็นได้จากทุกปีบัณฑิตในสำนักวิชาแพทยศาสตร์ สามารถสอบใบประกอบวิชาชีพได้100 เปอร์เซ็นต์ สำนักวิชาสหเวชศาสตร์100 เปอร์เซ็นต์ เภสัชศาสตร์ 97 เปอร์เซ็นต์ และพยาบาล 91 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐทุกมหาวิทยาลัยที่เปิดการเรียนการสอนในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพและบัณฑิตสามารถสอบใบประกอบวิชาชีพผ่าน 90% ขึ้นไป ถือว่ามหาวิทยาลัยนั้นอยู่ในกลุ่มเก่งที่สุดของประเทศ นี่ถือเป็นอีกหนึ่งความยิ่งใหญ่ และความสำเร็จของเรา
นอกจากนี้วารสารนานาชาติของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ขณะนี้ถือได้ว่าเป็นอันดับ 1 ของประเทศ เนื่องจากมีอัตราการตอบรับให้ตีพิมพ์จากนักวิจัยทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรามีสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ และสำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งทุกสำนักมีอาจารย์ที่มีคุณภาพ ในสาขาด้านสังคมศาสตร์ เรามีสำนักวิชาการจัดการ ศิลปศาสตร์ สำนักวิชารัฐศาสตร์และสำนักวิชานิติศาสตร์ และในอนาคตจะมีวิทยาลัยนานาชาติอีกด้วย
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน นายกสภามหาวิทยาลัย กล่าวว่า ประสบการณ์ของการตั้งมหาวิทยาลัย มีความตั้งใจที่จะทำให้มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เป็นมหาวิทยาลัยในอุดมคติในทุกด้าน เป็นมหาวิทยาลัยที่เลือกเอาประสบการณ์ส่วนดีของมหาวิทยาลัยต่างๆ มารวมไว้ที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อให้เป็นเมืองมหาวิทยาลัย เป็น “ตักศิลา” ของภาคใต้ เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศไปสู่สากล 25 ปี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ แต่วันนั้นเราเป็นมหาวิทยาลัยที่ทันสมัยที่สุด การเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งที่ 2 ของประเทศ ในปี พ.ศ. 2535 และได้รับพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ได้พระราชทานชื่อ“วลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ซึ่งในรัชสมัยของพระองค์ท่านนั้น มีไม่กี่มหาวิทยาลัยที่ได้รับพระราชทานชื่อ ซึ่งถือเป็นมิ่งมงคลอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้วางระบบการศึกษาและการบริหารที่ทันสมัย สภามีอำนาจสูงสุดในการบริหารจัดการที่ทำได้เอง ทำให้มีการตั้งชื่อหน่วยงานในลักษณะที่เหมาะ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ไม่มีคณะวิชาแต่เราเรียกของเราว่า “สำนักวิชา” เพื่อแสดงอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยทั่วโลกถือเป็นเรื่องสำคัญ และไม่ได้ทำเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น แต่ทำเพราะต้องการให้เป็นเรื่องที่เหมาะสมในการที่จะพัฒนาในอนาคตต่อไป เราได้ตั้งระบบที่ต้องการจะให้ทันโลก ทันสมัย เป็นสากลนับตั้งแต่ก่อตั้ง เน้นการเป็นพลเมือง พลโลก การผลิตบัณฑิตให้มีลักษณะตาม “ศึกษิต” 6 ประการ แล้วถ้าใครทำได้ที่นี่ก็จะมีรางวัลศึกษิตแห่งปีที่วลัยลักษณ์ให้แก่นักศึกษาที่มีคุณสมบัติเหมาะต่อไป

25 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 29 มีนาคม 2560

การตรวจร่างกายและการประเมินภาวะสุขภาพ


การตรวจร่างกายและการประเมินภาวะสุขภาพ

ตามรอยปฏิบัติการทวงคืนโบราณวัตถุ ร่องรอยรากร่วม ไทย-กัมพูชา l ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.102


ตามรอยปฏิบัติการทวงคืนโบราณวัตถุ ร่องรอยรากร่วม ไทยกัมพูชา
ในช่วง พ.ศ. 2,5002,510 โบราณวัตถุในเขตแดนของประเทศในภูมิเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทย ถูกลักลอบโจรกรรมออก “ขายทอดตลาด” จำนวนมากในนามของการ “บริจาค” โดยนายทุนส่งต่อให้แก่พิพิธภัณฑ์หลายแห่ง เป็นเหตุให้เกิดการทวงคืนโบราณวัตถุจำนวนมากกลับคืนมาตุภูมิในเวลาต่อมา โดยได้รับการสนับสนุนจากกระบวนการทางกฎหมายของประเทศคู่กรณี
ความสำเร็จในการทวงคืน “ทับหลังจากปราสาทเขาโล้น” และ “ทับหลังจากปราสาทหนองหงส์” นับเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ของไทยและอุษาคเนย์ ซึ่งเป็นผลมาจากการพยายามทวงคืนโบราณวัตถุ ”ศิลปะกลุ่มประโคนชัย” แห่งปราสาทปบายบัด 2 โดยกลุ่มสำนึก 300 องค์ ที่ภายหลังได้เข้าร่วมการทวงคืนกับรัฐบาลไทยเพื่อเข้าสู่การทวงคืนแบบรัฐต่อรัฐ โดยเหตุการณ์นี้นับเป็นภาคต่อจากความสำเร็จในการทวงคืน “ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธ์” ของปราสาทพนมรุ้ง

—————————————————
ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก
ขอขอบคุณภาพประกอบจาก เว็บท่ากรมศิลปากร สำนักงานศิลปากรที่ 5 ปราจีนบุรี / https://www.finearts.go.th/fad5
โครงการและรายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2502 กรมศิลปากร
เอกสารการแถลงข่าวพิธีบวงสรวงต้อนรับปราสาทเขาโล้นและปราสาทหนองหงส์ ณ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร “ทำเนียบโบราณสถานขอมในประเทศไทย เล่ม 5 “ ปราจีนบุรี สระแก้ว บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด, 2542.
“ทับหลัง” สมิทธิ ศิริภัทร์ และมยุรี วีระประเสริฐ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากรและธนาคารไทยพาณิชย์, 2533.
“ศิลปะสมัยลพบุรี” (พิมพ์ครั้งที่ 3) มจ.สุภัทรดิศ ดิศกุล มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.
“ทับหลังในประเทศไทย” ม.ร.ว. สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์ : เมืองโบราณ, 2531.)
ข้อมูลรายละเอียด ณ ปราสาทเขาโล้น โดยสำนักศิลปากรที่ 5 ปราจีนบุรี กรมศิลปากร

ขอบคุณเพลงประกอบ / Thank you for Original Soundtrack
อโรคยาศาล ดนตรีพื้นเมืองอีสานใต้สร้างสรรค์ / Backham Studio
ลาย สำเนียงอีสานใต้ / SUN DAY
เรือมกันตรึม (เซิ้บ เซิ้บ) / Ejueji Studio
บรรเลงซอกันตรึมร่วมสมัย ศรีผไทสมันต์ / Artit Krajangsree
ทับหลัง / วงคาราบาว
กันตรึมร่วมสมัย / Backham Studio
គ្រុឌ ខ្មែរ / SOPHY KEO
—————————————————
Item Title: Classical Violin
Item URL: https://elements.envato.com/classicalviolin3PSVXFE
Item ID: 3PSVXFE
Author Username: LuckyBlackCat
Licensee: adisak srisom
Registered Project Name: ประวัติศาสตร์นอกตำรา
License Date: March 25th, 2021
Item License Code: CVEKJ7WTLG
The license you hold for this item is only valid if you complete your End
Product while your subscription is active. Then the license continues
for the life of the End Product (even if your subscription ends).

Item Title: For Documentary
Item URL: https://elements.envato.com/fordocumentaryVB3DY28
Item ID: VB3DY28
Author Username: TastyAudio
Licensee: adisak srisom
Registered Project Name: ประวัติศาสตร์นอกตำรา
License Date: August 2nd, 2021
Item License Code: MR7CQTPD5B
The license you hold for this item is only valid if you complete your End
Product while your subscription is active. Then the license continues
for the life of the End Product (even if your subscription ends).

Item Title: Detective
Item URL: https://elements.envato.com/detective5U6M84N
Item ID: 5U6M84N
Author Username: ColorFilmMusic
Licensee: adisak srisom
Registered Project Name: ประวัติศาสตร์นอกตำรา
License Date: September 14th, 2021
Item License Code: VSTCMX2A73
The license you hold for this item is only valid if you complete your End
Product while your subscription is active. Then the license continues
for the life of the End Product (even if your subscription ends).

Item Title: For Documentary
Item URL: https://elements.envato.com/fordocumentaryL42V6ZQ
Item ID: L42V6ZQ
Author Username: SersalStudio
Licensee: adisak srisom
Registered Project Name: ประวัติศาสตร์นอกตำรา
License Date: August 2nd, 2021
Item License Code: TNBK3UY8CQ

ตามรอยปฏิบัติการทวงคืนโบราณวัตถุ ร่องรอยรากร่วม ไทย-กัมพูชา l ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.102

PRESENTATION \”สร้างพยาบาลจากชุมชน เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน\” คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก


\”สร้างพยาบาลจากชุมชน เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน\”
คณะพยาบาลศาสตร์
สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

PRESENTATION \

ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ ผู้ช่วยนักวิจัย


ทำหน้าที่สนับสนุนผู้ทำวิจัย เป็นที่ปรึกษาตั้งแต่เริ่มมีโจทย์ทำวิจัย ไปจนถึงการเผยแพร่ รวมถึงผลิตข้อมูลสุขภาพเผยแพร่ผ่าน www.bangkokhealth.com และจัดทำวารสารวิชาการ The Bangkok Medical Journal

ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ ผู้ช่วยนักวิจัย

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่GENERAL NEWS

Articles compiled by CASTU. See more articles in category: GENERAL NEWS

Leave a Comment